บทความการตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile ไมโครไพล์ Micropile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ หรือเข็มไอ I-Micropile เสาเข็มเพื่อการต่อเติม เสริมฐานราก และงานสร้างใหม่ ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐาน ISO 9001:2015 ภายใต้การรับรองระบบงานของ UKAS และ NAC และมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม (The Provision of Pile Driving Service)

ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ปัญหาการคำนวณหาค่าหน่วยแรงแบกทานที่ยอมให้ของดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน

กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ

โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ


ผมขอทำการสมมติว่า เพื่อนๆ ต้องทำหน้าที่เป็นผู้ออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างในโครงการก่อสร้างแห่งหนึ่ง โดยที่ผมขอทำการตั้งสมมติฐานในการออกแบบฐานรากแบบแผ่หรือ BEARING FOUNDATION ต้นนี้ว่า เป็นจุดรองรับอย่างง่ายหรือว่า PINNED SUPPORT ซึ่งจะต้องทำหน้าที่ในการรับน้ำหนักที่เป็นแรงกระทำตามแนวแกนที่ถูกถ่ายผ่านมาจากโครงสร้างเสาตอม่อทั้งหมดเท่ากับ 32 ตัน โดยที่จะไม่มีแรงโมเมนต์ดัดเกิดขึ้นเลย ซึ่งหากว่าโครงสร้างฐานรากแบบแผ่ต้นนี้นั้นมีรูปทรงเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่จะมีขนาดความกว้างและความยาวเท่ากับ 2 เมตร แสดงว่าดินของเรานั้นจะต้องมีขนาดของค่าหน่วยแรงแบกทานที่ยอมให้ หรือ ALLOWABLE BEARING CAPACITY ไม่น้อยกว่าเท่าใดครับ?

ทั้งนี้เพื่อนๆ ยังสามารถที่จะให้เหตุผลต่างๆ หรือ อาจจะทำการสเก็ตช์ภาพประกอบคำตอบเพื่อใช้อธิบายเพิ่มเติมได้ แล้วยังไงวันพรุ่งนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการเฉลยคำถามข้อนี้ให้แก่เพื่อนๆ ทุกคนได้รับทราบพร้อมๆ กันนะครับ

หวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านจากคำถามในวันนี้น่าที่จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ
#โพสต์ของวันเสาร์
#ถามตอบชวนสนุก
#ปัญหาการคำนวณหาค่าหน่วยแรงแบกทานที่ยอมให้ของดิน
ADMIN JAMES DEAN


คำตอบ

เป็นอย่างไรกันบ้างเอ่ย หากเพื่อนๆ ได้มีโอกาสย้อนกลับไปอ่านโพสต์ของผมเมื่อในสัปดาห์ที่ผ่านมาก็จะเห็นได้ว่าคำถามข้อนี้นั้นง่ายมากๆ เลยใช่มั้ย ดังนั้นในวันนี้เราจะมาทำการวิเคราะห์หากันว่า หากเรามีข้อจัดในเรื่องของขนาดของโครงสร้างฐานรากแบบแผ่เราจะมีวิธีในการคำนวณหาว่าดินของเรานั้นควรที่จะต้องมีขนาดของค่าหน่วยแรงแบกทานที่ยอมให้ไม่น้อยกว่าเท่าใดนะครับ


ก่อนอื่นเรามาทบทวนกันสักเล็กน้อยกับเนื้อหาที่ผมได้เกริ่นเอาไว้ก่อนหน้านี้ว่า หากน้ำหนักบรรทุกในตอม่อของเรานั้นมีเพียงแค่ ค่าแรงกระทำตามแนวแกน เพียงเท่านั้น เราจะสามารถทำการคำนวณออกแบบให้ขนาดของ ค่าความกว้าง หรือ B และ ค่าความยาว หรือ L ของโครงสร้างฐานรากแบบแผ่ให้เป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส ดังนั้นค่า B จึงจะมีค่าเท่ากับค่า L เพราะฉะนั้นหากเราให้ ค่าแรงกระทำตามแนวแกน มีค่าเท่ากับ P ส่วนค่าความสามารถในการรับน้ำหนักบรรทุกแบบแผ่ปลอดภัย มีค่าเท่ากับ qa สุดท้ายเราจะสามารถที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างทั้ง 3 ค่าข้างต้นได้ด้วยสมการง่ายๆ ดังต่อไปนี้
P = qa×B^(2)

ดังนั้นหากในกรณีนี้ของเราๆ มีเพียงแค่ค่า qa เท่านั้นที่เราไม่ทราบค่า เราก็เพียงแค่แทนค่าต่างๆ ที่เราทราบลงไปและก็แก้สมการหาค่า qa ออกมา ซึ่งก็จะมีค่าเท่ากับ
qa = P/B^(2)
qa = 32/2^(2)
qa = 8T/M^(2)

สรุปซึ่งหากว่าโครงสร้างฐานรากแบบแผ่ต้นนี้นั้นมีรูปทรงเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่จะมีขนาดความกว้างและความยาวเท่ากับ 2 เมตร แสดงว่าดินของเรานั้นจะต้องมีขนาดของค่าหน่วยแรงแบกทานที่ยอมให้ไม่น้อยกว่า 8 ตัน/ตารางเมตร นั่นเองครับ

หวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านจากคำตอบในวันนี้น่าที่จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ
#โพสต์ของวันอาทิตย์
#ถามตอบชวนสนุก
#ตอบปัญหาการคำนวณหาค่าหน่วยแรงแบกทานที่ยอมให้ของดิน
ADMIN JAMES DEAN


Bhumisiam (ภูมิสยาม)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน ทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)


สอบถามเพิ่มเติมได้ 24ชม. ทุกวันค่ะ
☎️ 082-790-1447
☎️ 082-790-1448
☎️ 082-790-1449
☎️ 091-9478-945
☎️ 091-8954-269
☎️ 091-8989-561
📲 https://lin.ee/hum1ua2
📥 https://m.me/bhumisiam

SPUN MICRO PILE เสาเข็มเพื่อการต่อเติม เสริมฐานรากอาคารขนาดเล็ก ขนาดใหญ่

posted in: PILE DRIVING
SPUN MICRO PILE เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เสาเข็มเพื่อการต่อเติม เสริมฐานรากอาคารขนาดใหญ่ หรือสร้างอาคารใหม่

เสาเข็มเราเป็นที่นิยมต่อเติม เสริมฐานรากอาคาร เพราะคุณภาพมาตรฐานการผลิต สามารถทำงานในที่แคบได้ ลำเลียงเข้าซอยแคบได้ และตัวเสาเข็ม    มีรูกลมกลวงตรงกลางเพื่อการ ระบายดินสามารถลดแรงสั่นสะเทือนได้ และ หน้างานสะอาด วันนี้มีภาพการเตรียม ต่อเติม มาฝากเพิ่มเติม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. โดย Bhumisiam เหมาะกับงานนี้ เพราะเราพร้อมบริการ สามารถทำงานในที่แคบได้ เข้าซอยแคบเหมาะกับในเมือง ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลนต่อเติมรากฐาน ต่อเติมรากฐาน ต่อเติมรากฐาน

Miss Spunpile

Bhumisiam (ภูมิสยาม)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service) Certified by SGS (Thailand) Ltd.

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม มอก. 397-2524 เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 15-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดิน แต่ละพื้นที่ ทดสอบโดย Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

1. สี่เหลี่ยม S18x18 cm.
หรือ 22 cm. แนวทแยง
รับน้ำหนัก 15-20 ตัน/ต้น

2. กลม Dia 21 cm.
รับน้ำหนัก 20-25 ตัน/ต้น

3. กลม Dia 25 cm.
รับน้ำหนัก 25-35 ตัน/ต้น

4. กลม Dia 30 cm.
รับน้ำหนัก 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)


ต้องการตอกเสาเข็ม
สปันไมโครไพล์
ปรึกษาทีมงานได้ที่

LINE น้องสปัน
http://line.me/ti/p/~bsp15

LINE น้องจินนี่
http://line.me/ti/p/~0827901447

LINE@BHUMISIAM
https://line.me/R/ti/p/%40bhumisiam

สายด่วนภูมิสยาม:
082-790-1447
082-790-1448
082-790-1449
081-634-6586☎

Web:
bhumisiam.com
micro-pile.com
spun-micropile.com
microspunpile.com
bhumisiammicropile.com🌎

ปัญหาค่าความกว้างน้อยที่สุด ที่ไม่ทำให้ที่บริเวณขอบนอกสุดใต้ฐานรากแบบตื้น เกิดหน่วยแรงเค้นดึงขึ้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน

กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ

โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ


ผมขอทำการสมมติว่า ผมกำลังดำเนินการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างให้แก่ โครงสร้างฐานรากแบบตื้น หรือ SHALLOW FOUNDATION อยู่ซึ่งผลจากการวิเคราะห์โครงสร้างก็พบว่า ค่าแรงกระทำในแนวดิ่งใช้งาน หรือ P นั้นมีค่าเท่ากับ 20 TONS และ ค่าแรงกระทำโมเมนต์ดัดใช้งาน หรือ M นั้นมีค่าเท่ากับ 6 TONS-M หากผมมีความต้องการที่จะทำการออกแบบให้บริเวณขอบนอกสุดใต้ฐานรากแบบตื้นของผมนั้นไม่เกิด หน่วยแรงเค้นดึง หรือ TENSILE STRESS ขึ้นเลย ผมจะต้องเลือกทำการกำหนดให้ฐานรากตื้นของผมนั้นมี ขนาดของความกว้าง หรือ ระยะ B ไม่น้อยไปกว่าเท่าใดครับ?

ทั้งนี้เพื่อนๆ ยังสามารถที่จะให้เหตุผลต่างๆ หรือ อาจจะทำการสเก็ตช์ภาพประกอบคำตอบเพื่อใช้อธิบายเพิ่มเติมได้ แล้วยังไงวันพรุ่งนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการเฉลยคำถามข้อนี้ให้แก่เพื่อนๆ ทุกคนได้รับทราบพร้อมๆ กันนะครับ

หวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านจากคำถามในวันนี้น่าที่จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ
#โพสต์ของวันเสาร์
#ถามตอบชวนสนุก
#ปัญหาค่าความกว้างน้อยที่สุดที่จะไม่ทำให้ที่บริเวณขอบนอกสุดใต้ฐานรากแบบตื้นนั้นเกิดหน่วยแรงเค้นดึงขึ้นเลย
ADMIN JAMES DEAN


คำตอบ

เป็นอย่างไรกันบ้างเอ่ย หากเพื่อนๆ ได้มีโอกาสย้อนกลับไปอ่านโพสต์ของผมเมื่อในสัปดาห์ที่ผ่านมาก็จะเห็นได้ว่าคำถามข้อนี้นั้นง่ายมากๆ เลยใช่มั้ย ดังนั้นในวันนี้เราจะมาทำการวิเคราะห์หากันว่า หากผมมีความต้องการที่จะทำการออกแบบให้บริเวณขอบนอกสุดใต้ฐานรากแบบตื้นของผมนั้นไม่เกิดหน่วยแรงเค้นดึงขึ้นเลย ผมจะต้องเลือกทำการกำหนดให้ฐานรากตื้นของผมนั้นมีขนาดของความกว้างให้มีค่าไม่น้อยไปกว่าเท่าใดไปพร้อมๆ กันนะครับ

ก่อนอื่นเรามาทบทวนกันสักเล็กน้อยกับเนื้อหาที่ผมได้เกริ่นเอาไว้ก่อนหน้านี้ว่า หากเราต้องการที่จะให้สถานะของค่าหน่วยแรงเค้นดึงนั้นเป็นค่าขอบเขตต่ำที่สุดนั่นก็แสดงว่า เราจะต้องให้ค่า qmin นั้นมีค่าเท่ากับศูนย์ ซึ่งเราก็จะสามารถทำการแก้สมการนี้เพื่อที่จะหาว่า ค่าของระยะเยื้องศูนย์มากที่สุดที่จะไม่ทำให้ที่บริเวณขอบนอกสุดใต้ฐานรากแบบตื้นของเรานั้นเกิดหน่วยแรงเค้นดึงขึ้นเลยจะต้องมีค่าไม่เกิน
e ≤ B / 6 EQ.(1)

ทั้งนี้เราก็ทราบด้วยว่า ค่าของระยะเยื้องศูนย์ หรือค่า e นั้นจะสามารถทำการคำนวณหาออกมาได้จากสัดส่วนระหว่าง ค่าแรงโมเมนต์ดัดที่ส่งผ่านมาจากตอม่อ หารด้วย ค่าแรงกระทำในแนวดิ่งที่ส่งผ่านมาจากตอม่อ ซึ่งสำหรับกรณีนี้ค่า e ก็จะมีค่าเท่ากับ
e = M / P
e = 6×1,000×1,000 / (20×1,000)
e = 6,000 / 20
e = 300 MM EQ.(2)

ดังนั้นหากเราทำการแทนค่า EQ.(2) ลงใน EQ.(1) เราก็จะสามารถทำการแก้สมการหาออกมาได้ว่าขนาดของความกว้างน้อยที่สุดของฐานรากนั้นจะต้องมีค่าไม่น้อยไปกว่า
e ≤ B / 6
300 ≤ B / 6
B ≥ 300×6
B ≥ 1,800 MM

สรุปก็คือ หากผมมีความต้องการที่จะทำการออกแบบให้บริเวณขอบนอกสุดใต้ฐานรากแบบตื้นของผมนั้นไม่เกิดหน่วยแรงเค้นดึงขึ้นเลย ผมจะต้องเลือกทำการกำหนดให้ฐานรากตื้นของผมนั้นมีขนาดของความกว้างไม่น้อยไปกว่า 1,800 MM นั่นเองครับ

หวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านจากคำตอบในวันนี้น่าที่จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ
#โพสต์ของวันอาทิตย์
#ถามตอบชวนสนุก
#ตอบปัญหาค่าความกว้างน้อยที่สุดที่จะไม่ทำให้ที่บริเวณขอบนอกสุดใต้ฐานรากแบบตื้นนั้นเกิดหน่วยแรงเค้นดึงขึ้นเลย
ADMIN JAMES DEAN


Bhumisiam (ภูมิสยาม)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน ทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)


สอบถามเพิ่มเติมได้ 24ชม. ทุกวันค่ะ
☎️ 082-790-1447
☎️ 082-790-1448
☎️ 082-790-1449
☎️ 091-9478-945
☎️ 091-8954-269
☎️ 091-8989-561
📲 https://lin.ee/hum1ua2
📥 https://m.me/bhumisiam

วิศวกรรมการคำนวณ – การออกแบบการสั่น อันเนื่องมาจากเครื่องจักร ครั้งที่1

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน

ตามที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ เอาไว้เมื่อสัปดาห์ก่อนว่าในวันนี้ผมจะขออนุญาตนำเอาเรื่องราวรายละเอียดต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องการออกแบบการสั่นอันเนื่องมาจากเครื่องจักรเอามามาพูดถึงและอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ให้มีความรู้และความเข้าใจที่มากยิ่งขึ้นและหากจะว่ากันด้วยเรื่องรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกันกับเรื่องๆ นี้แล้วเนื้อหาทั้งหมดของมันนั้นมีอยู่ด้วยกันค่อนข้างที่จะเยอะมากเลยทีเดียว ดังนั้นเพื่อให้การโพสต์ตลอดก่อนที่จะถึงช่วงปีใหม่นั้นมีความกระชับและได้ประโยชน์สูงสุดผมจึงจะขออนุญาตเลือกหัวข้อที่มีความสำคัญมาก 2 ประเด็นมาพูดถึงนั่นก็คือ
1. รูปแบบของการสั่นสะเทือนและวิธีในการทำการตรวจวัดการสั่นสะเทือนของเครื่องจักร
2. รูปแบบและวิธีแก้ไขการสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากเครื่องจักร

ซึ่งในสัปดาห์นี้ก็คือวันศุกร์ที่ 18 และในสัปดาห์สุดท้ายก็คือวันศุกร์ที่ 25 ซึ่งก็จะถือได้ว่าเป็นวันศุกร์สุดท้ายของปี พ.ศ. 2563 แล้ว เราก็น่าที่จะสามารถจบหัวข้อๆ นี้ได้แบบพอดิบพอดีเลย ดังนั้นในวันนี้เราจะมาพูดถึงหัวข้อที่ 1 นั่นก็คือ รูปแบบของการสั่นสะเทือนและวิธีในการทำการตรวจวัดการสั่นสะเทือนของเครื่องจักร กันก่อนเลยก็แล้วกันนะครับ
จริงๆ แล้วหากเป็นเพื่อนๆ ที่เป็นแฟนเพจขาประจำของคลิปในทุกๆ วันศุกร์น่าที่จะพอเข้าใจได้ว่าหากเราพูดถึงรูปแบบของการสั่นนั้นจะมีอยู่ด้วยกันเพียงไม่กี่รูปแบบเท่านั้น สำหรับกรณีของเครื่องจักรก็เช่นเดียวกันเพียงแต่ก็แน่นอนว่าเครื่องจักรนั้นจะมีรูปแบบของการสั่นเพียงแค่ 3 รูปแบบหลักๆ นั่นก็คือ

รูปแบบที่ 1 การสั่นตัวในรูปแบบที่มีความอิสระ หรือ FREE VIBRATION MODE ซึ่งรูปแบบของการสั่นแบบนี้ก็จะมีทิศทางในการสั่นตามชื่อของมันเลยนั่นก็คือ เกิดการสั่นได้โดยอิสระเลย ซึ่งรูปแบบของการสั่นนั้นก็จะเกิดขึ้นตามทิศทางของแรงขับที่ออกมาจากแหล่งกำเนิดพลังงานของเครื่องจักรนั้นๆ ซึ่งจุดสังเกตง่ายๆ อย่างหนึ่งของรูปแบบของการสั่นแบบนี้ก็คือ ส่วนใหญ่แล้วเครื่องจักรที่จะเกิดการสั่นในรูปแบบๆ นี้ได้ประมาณร้อยละ 90 ก็มักจะเกิดจากการที่เครื่องจักรนั้นๆ มีการวางตัวอยู่บนฐานรากหรือจุดรองรับที่จะมีลักษณะเป็น แบบมีความยืดหยุ่น หรือ FLEXIBLE FOUNDATION นะครับ

รูปแบบที่ 2 การสั่นตัวในรูปแบบ ซ้อนทับ หรือ ขบทับกัน หรือ MESHING VIBRATION หรืออาจจะเรียกได้อีกในชื่อหนึ่งว่าเป็นแบบเคลื่อนที่ผ่าน หรือ PASSING VIBRATION ก็ได้ ซึ่งส่วนใหญ่แล้วรูปแบบของการสั่นของเครื่องจักรแบบนี้จะเกิดขึ้นเนื่องจาก การทำงานของเครื่องจักรที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องด้วยแรงขับ หรือ หมุนหรือเคลื่อนที่ผ่านอย่างต่อเนื่องกันเป็นระยะเวลาที่ค่อนข้างจะมีความยาวนานในระดับหนึ่ง เช่น รูปแบบการสั่นของเฟืองที่ขบกัน รูปแบบการสั่นของใบพัดในเครื่องจักรที่หมุนผ่านอย่างตลอดและต่อเนื่องและยาวนานมากๆ เป็นต้นนะครับ
รูปแบบสุดท้ายก็คือรูปแบบที่ 3 การสั่นตัวเนื่องมาจากแรงเสียดทาน หรือ FRICTIONAL VIBRATION ซึ่งรูปแบบของการสั่นแบบนี้ก็จะเกิดขึ้นเนื่องมาจากแรงเสียดทานที่เกิดขึ้นจากการหมุนโดยรอบหรือเคลื่อนที่ผ่านไปมาของชิ้นส่วนต่างๆ ของเครื่องจักรนั่นเอง เช่น การหมุนโดยรอบ หรือ การเคลื่อนที่ผ่านไปมาของลูกปืนหรือตลับลูกปืน หรือ การเคลื่อนไถลของชิ้นส่วนที่ทำหน้าที่ในการรองรับการหมุนของเครื่องจักร เป็นต้น ซึ่งรูปแบบของการสั่นแบบนี้ก็มักจะเกิดจากการที่คนใช้งานเครื่องจักรนั้นขาดการดูแลรักษาเครื่องจักรอย่างเหมาะสมและดีเพียงพอเป็นหลักนะครับ
ซึ่งไม่ว่าการสั่นของเครื่องจักรนั้นจะเกิดจากเหตุผลกลใดจากทั้ง 3 วิธีการหลักๆ ข้างต้นก็ตามเราจะมีวิธีหลักๆ ในการทำการตรวจวัดการสั่นของเครื่องจักรได้จาก 2 วิธีการหลักๆ ดังต่อไปนี้

วิธีการที่ 1 ซึ่งเรามีชื่อเรียกการทดสอบว่า PROXIMITY MONITORING TEST ซึ่งวิธีในการทดสอบอาจจะเริ่มต้นทำได้โดยการติดตั้งอุปกรณ์การตรวจวัดเข้าไปในระบบภายในตำแหน่งที่คาดว่าการสั่นนั้นจะเกิดแบบมีความรุนแรงสูงที่สุดก่อน จากนั้นก็ทำการติดตั้งตัวอุปกรณ์ตรวจวัดในแต่ละแบริ่งเพื่อที่จะได้สามารถวัดระยะห่างระหว่างแกนหมุนกับแบริ่งออกมาให้ได้ หลังจากนั้นก็เริ่มต้นการตรวจวัด โดยที่จะต้องทำการตรวจสอบค่าการสั่นโดยรวมตลอดเวลาว่ามีอยู่ในระดับที่เรายอมรับได้หรือไม่ รวมถึงจะต้องทำการตรวจวัดอื่นๆ ด้วย เช่น เฟสของเครื่องจักรมีค่าเท่ากับเท่าใด มวลที่กระจายตัวอยู่ซึ่งอาจจะทำให้เครื่องจักรนั้นมีการทำงานแบบไม่สมดุลนั้นอยู่ในตำแหน่งใด เป็นต้น จะเห็นได้ว่าการทดสอบโดยวิธีการๆ นี้จะค่อนข้างมีความสลับซับซ้อนมากพอสมควร จะต้องมีการติดตั้งอุปกรณ์ตรวจวัดเข้าไปในหลายๆ ตำแหน่งของเครื่องจักร นั่นจึงทำให้วิธีการนี้มีความเหมาะสมที่จะนำไปใช้กับเครื่องจักรที่ค่อนข้างจะมีความสำคัญมากๆ หรือจะมีขนาดของเครื่องจักรเองที่ค่อนข้างจะใหญ่ในระดับหนึ่งนะครับ

วิธีการที่ 2 ซึ่งเรามีชื่อเรียกการทดสอบว่า SEISMIC MONITORING TEST ซึ่งวิธีในการทดสอบนี้จะทำได้ง่ายดายกว่าการทดสอบแบบแรกค่อนข้างมากเลย ดังนั้นในทางปฏิบัติแล้ววิธีการนี้จึงเป็นวิธีการที่นิยมนำมาใช้งานมากที่สุดเพราะว่าการทดสอบด้วยวิธีการๆ นี้จะมีความเหมาะสมต่อการนำไปใช้ในการทดสอบตัวเครื่องจักรที่จัดได้ว่าอยู่ในกรณีของเครื่องจักรที่มีการใช้งานอยู่ในเกณฑ์ทั่วๆ ไปหรือว่าตัวเครื่องจักรเองนั้นอาจจะไม่ได้มีขนาดใหญ่โตอะไรมากมายนัก ส่วนการทดสอบนั้นก็จะค่อนข้างมีความง่ายดายมากโดยอาจจะเริ่มต้นจากการติดตั้งอุปกรณ์ตรวจวัดที่ผิวด้านนอกของแบริ่งหลังจากนั้นก็ทำการตรวจวัดค่า MAXIMUM ABSOLUTE VIBRATION ที่เกิดขึ้นในตัวเครื่องจักรนั่นเองครับ
เอาเป็นว่าวันนี้ผมขอสรุปเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกันกับรูปแบบของการสั่นสะเทือนและวิธีในการทำการตรวจวัดการสั่นสะเทือนของเครื่องจักรเอาไว้เพียงเท่านี้ ไม่อย่างนั้นเนื้อหาในวันนี้มันคงจะยืดเยื้อและน่าเบื่อจนเกินไปและในสัปดาห์หน้าผมก็จะขออนุญาตนำเอาเรื่องราวรายละเอียดต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องรูปแบบและวิธีแก้ไขการสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นเนื่องจากเครื่องจักรมาพูดถึงและอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ให้มีความรู้และความเข้าใจที่มากยิ่งขึ้นเป็นหัวข้อสุดท้ายของปีนี้ หากเพื่อนๆ ท่านใดที่มีความสนใจเนื้อเรื่องเกี่ยวกับหัวข้อๆ นี้เป็นพิเศษ ก็สามารถที่จะติดตามอ่านบทความเกี่ยวกับเรื่องๆ นี้ของผมได้ในการพบกันในครั้งต่อไปของเราได้นะครับ

หวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านในวันนี้จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ
#โพสต์ของวันศุกร์
#ความรู้เรื่องวิศวกรรมการคำนวณ
#การวิเคราะห์โครงสร้างเชิงพลศาสตร์
#สรุปขั้นตอนที่มีความสำคัญของการออกแบบการสั่นอันเนื่องมาจากเครื่องจักร
#ครั้งที่1
ADMIN JAMES DEAN


บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปัน ไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service) Certified by SGS (Thailand) Ltd.

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 15-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดิน แต่ละพื้นที่ ทดสอบโดย Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)

☎ สายด่วนภูมิสยาม:
082-790-1447
082-790-1448
082-790-1449
091-947-8945
081-634-6586

🌎 Web:
bhumisiam.com
micro-pile.com
spun-micropile.com
microspunpile.com
bhumisiammicropile.com

ควรตอกเสาเข็มไอไมโครไพล์ให้ลึกเท่าไหร่ บ้านถึงจะไม่ทรุด!!

posted in: PILE DRIVING

ควรตอกเสาเข็มให้ลึกเท่าไหร่ บ้านถึงจะไม่ทรุด คำตอบอยู่ที่ภูมิสยามค่ะ!!                      เพราะภูมิสยาม!! มีเสาเข็มที่ได้รับมาตรฐาน มอก.

ความสำคัญของเสาเข็ม
เสาเข็มเป็นชิ้นส่วนที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งของโครงสร้างบ้าน เป็นส่วนประกอบของฐานทั้งหลัง หากว่าเราสร้างบ้านแล้วไม่ได้ลงเสาเข็มไว้ น้ำหนักของตัวบ้านก็จะกดทับผิวดินด้านบนให้ค่อยทรุดตัวลงทีละนิดจนก่อให้เกิดความเสียหายต่อโครงสร้างบ้านได้

เสาเข็มช่วยแก้ปัญหาบ้านทรุดได้ยังไง

เสาเข็มรับน้ำหนักได้อย่างไร? เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักที่กดทับได้ด้วยแรง 2 ชนิดหลักๆ คือ

แรงเสียดทานที่ผิวของเสาเข็ม (Skin Friction) คือแรงต้านที่เกิดจากแรงเสียดทานระหว่างผิวของเสาเข็มกับดินโดยรอบ ซึ่งแรงที่เกิดขึ้นนี้จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับชนิดของดินและลักษณะของเสาเข็มแต่ละประเภท

แรงต้านที่ปลายเสาเข็ม (End Bearing) คือแรงต้านที่เกิดขึ้นบริเวณปลายเสาเข็ม ซึ่งแรงนี้เกิดจากดินที่มารองรับที่ปลายเสาเข็ม แรงนี้จะมีปริมาณมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับชนิดของดินเช่นกัน

ตอนเริ่มสร้างบ้าน ควรตอกเสาเข็มให้ลึกเท่าไหร่

ในการสร้างบ้านโดยทั่วไปนั้น เสาเข็มที่รับน้ำหนักตัวโครงสร้างหลักของบ้านควรจะตอกให้ลึกจนถึงชั้นดินแข็ง (ชั้นดินแข็งในกรุงเทพฯ จะอยู่ที่ความลึกประมาณ 21 เมตร) ซึ่งจะช่วยให้เสาเข็มมีแรงต้านได้ทั้ง 2 แบบ และช่วยป้องกันการหรุดตัวของโครงสร้างบ้านในภายหลัง

ตอนต่อเติมบ้าน ควรลงเสาเข็มให้ลึกเท่าไหร่

การต่อเติมบ้านส่วนใหญ่จะเป็นการต่อเติมบนโครงสร้างเดิม จึงควรให้วิศวกรมาทำการตรวจสอบรากฐานและโครงสร้างเดิมว่าสามารถรับน้ำหนักในการต่อเติมได้หรือไม่ ถ้าหากว่าส่วนที่ต่อเติมเข้าไปมีน้ำหนักมากจนโครงสร้างเดิมไม่สามารถรับน้ำหนักได้ จะต้องมีการลงเสาเข็มเพื่อเสริมตัวโครงสร้างเดิมด้วย เพราะว่าหากไม่เสริมฐานรากเสาเข็ม อาจจะส่งผลให้โครงสร้างเดิมของบ้านเกิดการเสียหาย ซึ่งปัญหาที่จะตามเข้ามาก็คือบ้านร้าว บ้านทรุด และอาจจะบานปลายเป็นปัญหาใหญ่โตจนถึงขั้นต้องรื้อทุบใหม่ทั้งหมดได้

หากบ้านที่ต้องการต่อเติมเป็นกลุ่มบ้านจัดสรรค์ ซึ่งจุดที่ต่อเติมมักจะแคบจนเสาเข็มขนาดใหญ่ไม่สามารถเข้ามาทำงานได้ หากตอกเสาเข็มไม่ได้ความลึกจนถึงชั้นดินแข็งก็จะเสี่ยงต่อการทรุดตัวในภายหลังอีก จากปัญหาตรงนี้จึงได้มีการออกแบบเสาเข็มแบบสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) ขึ้นมา เพื่อให้สามารถลงเข็มได้ลึกจนถึงชั้นดินแข็งในบริเวณหน้างานที่แคบแบบนี้ได้

สนใจติดต่อสินค้า เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. โทร
☎ 081-634-6586
☎ 082-790-1447
☎ 082-790-1448
☎ 082-790-1449

#ไมโครไพล์ #สปันไมโครไพล์ #เสาเข็มไมโครไพล์ #เสาเข็มสปันไมโครไพล์ #เสาเข็ม #ตอกเสาเข็ม #micropile #spunmicropile #microspunpile #spunpile #microspun

“ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” การคำนวณหาค่าแรงอัดวิกฤติของออยเลอร์

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน

กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ

ตามที่ผมได้เรียนกับเพื่อนๆ ไปว่าในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการยกตัวอย่างถึงเรื่องการคำนวณเกี่ยวกับเรื่องค่าแรงอัดวิกฤติของออยเลอร์ หรือ EULER’S CRITICAL COMPRESSION LOAD หรือ ที่พวกเรานิยมเรียกชื่อนี้ว่า Pcr ซึ่งจริงๆ แล้วหากเพื่อนๆ ติดตามโพสต์ของผมเมื่อช่วงวันเสาร์และวันอาทิตย์ที่ผ่านมาก็น่าจะเห็นวิธีการในการคำนวณกันไปบ้างแล้วแต่สำหรับเพื่อนๆ ที่อาจจะยังไม่ได้มีโอกาสอ่านโพสต์ดังกล่าวก็ไม่เป็นไรนะ เรามารับชมวิธีในการคำนวณหาว่าค่าแรงอัดวิกฤติของออยเลอร์นั้นจะมีวิธีการคำนวณได้อย่างไรไปพร้อมๆ กันนะครับ


ก่อนอื่นเรามาเริ่มต้นที่สมการตั้งต้นของเราก่อนนั่นก็คือ สมการค่าแรงอัดวิกฤติของออยเลอร์ ซึ่งก็จะมีหน้าตาของสมการดังต่อไปนี้
Pcr=π^(2)×E×I/[K×Lu ]^(2)EQ.(1)

ซึ่งเราก็จะสามารถเห็นได้ว่า หากเราต้องการที่จะคำนวณหาว่า ค่าแรงอัดวิกฤติของออยเลอร์ตามทฤษฎีและที่ได้มีการให้คำแนะนำเอาไว้เพื่อที่จะนำเอาไปใช้ในการออกแบบของเจ้าชิ้นส่วนโครงสร้างที่ต้องทำหน้าที่ในการรับแรงอัดโครงสร้างนี้จะมีค่าเท่ากับเท่าใด ก็มีเพียงแค่พารามิเตอร์เดียวที่เราจะต้องเลือกทำการแทนค่าเข้าไปในสมการ EQ.(1) นั่นก็คือค่า K ตามทฤษฎีและค่า K ที่ได้มีการให้คำแนะนำเอาไว้เพื่อที่จะนำเอาไปใช้ในการออกแบบ ซึ่งเราก็สามารถที่จะพิจารณาเลือกดูได้จากในรูปที่สองที่ผมได้แนบมาในโพสต์ของวันนี้ได้ ซึ่งค่า K ทั้งสองค่าสำหรับกรณีนี้ก็จะมีค่าที่เท่าๆ กัน นั่นก็คือมีค่าเท่ากับ 1.00 ดังนั้นหากเราแทนค่าๆ นี้ลงไปในสมการ EQ.(1) เราก็จะได้ค่าของแรงอัดวิกฤติของออยเลอร์ของเจ้าชิ้นส่วนโครงสร้างที่ต้องทำหน้าที่ในการรับแรงอัดโครงสร้างนี้ซึ่งก็จะมีค่าเท่ากับ
Pcr=π^(2)×E×I/[K×Lu]^(2)
Pcr=π^(2)×E×I/[1.00×Lu ]^(2)
Pcr=π^(2)×E×I/[1.00^(2)×Lu^(2)] Pcr=π^(2)×E×I/[1.00×Lu^(2)] Pcr=π^(2)×E×I/Lu^(2)EQ.(2)

ดังนั้นค่าของแรงอัดวิกฤติของออยเลอร์ตามทฤษฎีและที่ได้มีการให้คำแนะนำเอาไว้เพื่อที่จะนำเอาไปใช้ในการออกแบบของเจ้าชิ้นส่วนโครงสร้างที่ต้องทำหน้าที่ในการรับแรงอัดโครงสร้างนี้จะมีค่าดังแสดงอยู่ใน EQ.(2) ซึ่งก็จะมีค่าเท่ากับ π^(2) × E × I / Lu^(2) นั่นเองครับ

อย่างที่ผมได้เรียนให้แก่เพื่อนๆ ทุกๆ คนทราบไปไปเมื่อในสัปดาห์ก่อนหน้านี้ว่า เรื่องสมการค่าแรงอัดวิกฤติของออยเลอร์นี้เป็นเรื่องหนึ่งที่มีความสำคัญมากเกี่ยวกับวิชากลศาสตร์ของวัสดุหรือ MECHANICS OF MATERIALS ซึ่งสุดท้ายแล้วเราก็จะต้องนำเอาพื้นฐานของเรื่องๆ นี้ไปต่อยอดในวิชาออกแบบต่างๆ อีกมากมายเลย เช่น การออกแบบโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก หรือ STRUCTURAL CONCRETE DESIGN การออกแบบโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ หรือ STRUCTURAL STEEL DESIGN การออกแบบโครงสร้างไม้ หรือ STRUCTURAL TIMBER DESIGN เป็นต้น ดังนั้นหากในอนาคตผมจะทำการพูดถึงเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องๆ นี้ในโพสต์อื่นๆ อีก ผมมีความคิดว่าเพื่อนๆ น่าที่จะพอมีความคุ้นเคย มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องๆ นี้ในระดับหนึ่งกันแล้วนะครับ

หวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านจากคำถามในวันนี้น่าที่จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ
#โพสต์ของวันจันทร์
#ความรู้ที่มีประโยชน์เพื่อคุณผู้หญิง
#ตัวอย่างการคำนวณหาค่าแรงอัดวิกฤติของออยเลอร์
ADMIN JAMES DEAN


Bhumisiam (ภูมิสยาม)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน ทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)


สอบถามเพิ่มเติมได้ 24ชม. ทุกวันค่ะ
☎️ 082-790-1447
☎️ 082-790-1448
☎️ 082-790-1449
☎️ 091-9478-945
☎️ 091-8954-269
☎️ 091-8989-561
📲 https://lin.ee/hum1ua2
📥 https://m.me/bhumisiam

ต่อเติม ขยายอาคาร เราขอแนะนำเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spub Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile ตัวช่วยต่อเติม เรื่องความแข็งแรง

ต่อเติม ขยายอาคาร เราขอแนะนำเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spub Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile ตัวช่วยต่อเติม เรื่องความแข็งแรง

ต่อเติมอาคาร ขยายอาคาร วิธีป้องกันปัญหาการทรุดตัวของโครงสร้างได้เป็นอย่างดี ทำได้โดยการเลือกใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ และเสาเข็มไอไมโครไพล์ เป็นเสาเข็มที่เหมาะกับการต่อเติมโดยเฉพาะ ถูกออกแบบมาเพื่อรองรับน้ำหนักได้มาก เสริมฐานรากให้มีความแข็งแรง และมีความมั่นคงยิ่งขึ้น สามารถรับน้ำหนักได้ดี อีกทั้งแรงสั่นสะเทือนจากการตอกที่น้อยกว่าการใช้เสาเข็มทั่วไป และถึงแม้เสาเข็มจะมีความยาวเพียง 1.5 เมตร เท่านั้น แต่สามารถนำมาเชื่อมต่อกันได้โดยการเชื่อม และตอกด้วยปั้นจั่นที่ถูกออกแบบมาเป็นพิเศษ ซึ่งความลึกจากการตอกเสาเข็มแต่ละท่อนต่อกัน ทำให้มีความแข็งแรงมากพอที่จะรับน้ำหนักโครงสร้างของอาคารได้อย่างปลอดภัย

เสาเข็มของภูมิสยามได้รับ มาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 หากต้องการคำแนะนำเรื่องการตอกเสาเข็ม ไม่ว่าจะงานต่อเติม เสริมฐานราก หรืองานสร้างใหม่ ปรึกษา ภูมิสยาม เรายินดีให้คำแนะนำ และพร้อมบริการทั่วประเทศ


Miss Spunpile 

Bhumisiam (ภูมิสยาม)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน ทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)


สอบถามเพิ่มเติมได้ 24ชม. ทุกวันค่ะ
☎️ 082-790-1447
☎️ 082-790-1448
☎️ 082-790-1449
☎️ 091-9478-945
☎️ 091-8954-269
☎️ 091-8989-561
📲 https://lin.ee/hum1ua2
📥 https://m.me/bhumisiam

ถามตอบชวนสนุก – การทำการทดสอบดินหรือ SOIL BORING TEST

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน

กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ

โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ


ในรูปทั้งสองที่ผมได้แนบมาในโพสต์ๆ นี้จะแสดงให้เห็นถึงผลที่ได้จากการทำการทดสอบดินหรือ SOIL BORING TEST จากในสถานที่ก่อสร้างจริงแห่งหนึ่งในเขตกรุงเทพมหานครฯ หากทางเจ้าของโครงการนั้นมีความต้องการที่จะทำการก่อสร้างพื้นเพื่อที่จะใช้เป็นที่จอดรถแบบถาวรของโรงงานของเค้าโดยที่ข้อกำหนดที่ได้รับมาก็คือ โครงสร้างพื้นนี้ไม่ควรที่จะเกิดการทรุดตัวที่มากจนเกินไปเพราะเมื่อเวลาผ่านไปทางเจ้าของโครงการไม่ต้องการที่จะสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมหรือดูแลรักษาโครงสร้างพื้นนี้เท่าใดนัก ซึ่งในสถานที่ก่อสร้างแห่งนี้ดินจะมีลักษณะของการรับน้ำหนักทั่วๆ ไปเท่านั้นและจะไม่เกิดกรณีของดินที่มีคุณสมบัติพิเศษอื่นๆ ด้วยน่ะครับ
ดังนั้นคำถามง่ายๆ ในวันนี้ก็คือ หากเพื่อนๆ ต้องทำหน้าที่เป็นผู้ออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างในโครงการก่อสร้างแห่งนี้ เพื่อนๆ จะทำการกำหนดให้โครงสร้างพื้นนี้เป็น พื้นวางบนดิน หรือ SLAB ON GRADE ที่วางตัวอยู่บนดินโดยตรงหรือเป็น พื้นวางบนโครงสร้าง หรือ SLAB ON STRUCTURE ที่วางตัวอยู่บนโครงสร้างเสาเข็มดีครับ ?

ทั้งนี้เพื่อนๆ ยังสามารถที่จะให้เหตุผลต่างๆ หรือ อาจจะทำการสเก็ตช์ภาพประกอบคำตอบเพื่อใช้อธิบายเพิ่มเติมได้ แล้วยังไงวันพรุ่งนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการเฉลยคำถามข้อนี้ให้แก่เพื่อนๆ ทุกคนได้รับทราบพร้อมๆ กันนะครับ

หวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านจากคำถามในวันนี้น่าที่จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ
#โพสต์ของวันเสาร์
#ถามตอบชวนสนุก
#ปัญหาการพิจารณาเรื่องดินว่ามีโอกาสจะเกิดการทรุดตัวหรือไม่
ADMIN JAMES DEAN 


คำตอบ

เป็นอย่างไรกันบ้างเอ่ย หากเพื่อนๆ ได้มีโอกาสย้อนกลับไปอ่านโพสต์ของผมเมื่อวันพฤหัสบดีที่ผ่านมาก็จะเห็นได้ว่าคำถามข้อนี้นั้นง่ายมากๆ เลยใช่มั้ย ดังนั้นเรามาทำการคำนวณหาว่า ในฐานะของผู้ออกแบบเราจะเลือกทำการออกแบบแก้ไขฐานรากต้นนี้อย่างไรกันดี จึงจะทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างมากที่สุด รวมถึงสามารถที่จะก่อสร้างได้โดยง่ายและที่สำคัญก็คือมีความถูกต้องตามหลักการทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างไปพร้อมๆ กันนะครับ

ก่อนอื่นเรามาทบทวนความรู้จากโพสต์ของผมเมื่อวันพฤหัสบดีกันสักเล็กน้อยนั่นก็คือ ผมได้ทำการอธิบายกับเพื่อนๆ ไปว่า หากดินในสถานที่ก่อสร้างของเรานั้นมีลักษณะของการรับน้ำหนักแบบทั่วๆ ไปเท่านั้นและจะไม่เกิดกรณีของดินที่มีคุณสมบัติพิเศษอื่นๆ เราจะสามารถประมาณการออกมาได้ว่า ดินของเรานั้นจะมีโอกาสที่จะเกิดการทรุดตัวได้มากหรือน้อยเพียงใดโดยทำการประเมินได้จากผลการทดสอบดินโดยจะสามารถทำการพิจารณาได้จาก
(1) ค่าอัตราส่วนของน้ำในดิน หรือ WATER CONTENT
(2) ค่าหน่วยแรงเฉือนแบบไม่ระบายน้ำ หรือ UNDRAINED SHEAR STRENGTH

เรามาเริ่มต้นกันที่ค่าอัตราส่วนของน้ำในดินกันก่อน ทั้งนี้หลักการในการพิจารณาจากค่าๆ นี้จะทำได้ค่อนข้างง่ายเลยนั่นก็คือ ทำการพิจารณาว่าค่าเฉลี่ยของ ค่าอัตราส่วนของน้ำในดิน ของชั้นดินตั้งแต่ระดับผิวดินลึกลงไปจนถึงที่ระดับดินประมาณ 10 เมตร นั้นจะมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 80 ใช่หรือไม่ หากว่าคำตอบคือ ใช่ นั่นก็หมายความว่าดินก็จะมีโอกาสที่จะเกิดการทรุดตัวได้อย่างรวดเร็วและก็มากด้วยแต่หากว่าดินภายในระดับความลึกดังกล่าวนั้นมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่น้อยกว่าร้อยละ 80 แต่ก็ยังมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 50 แล้วละก็ ดินก็จะมีโอกาสที่จะเกิดการทรุดตัวได้อยู่แต่ก็จะค่อยๆ เกิดแบบช้าๆ แบบค่อยเป็นค่อยไป สุดท้ายหากว่าดินภายในระดับความลึกดังกล่าวนั้นมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่น้อยกว่าร้อยละ 50 แล้วละก็ ดินก็จะมีโอกาสที่จะเกิดการทรุดตัวที่น้อยมากๆ เลยละครับ

นอกจากจะทำการพิจารณาถึง ค่าอัตราส่วนของน้ำในดิน แล้วเพื่อให้เกิดความมั่นใจเพิ่มขึ้นไปอีกระดับหนึ่ง เราจึงควรที่จะต้องทำการพิจารณาถึงค่าหน่วยแรงเฉือนแบบไม่ระบายน้ำด้วย โดยเรามาทบทวนกันกับส่วนที่มีความเกี่ยวข้องกันกับค่าหน่วยแรงเฉือนแบบไม่ระบายน้ำที่เราอาจจะเรียกแทนว่าค่า Su ก็ได้ ทั้งนี้หากจะทำการสรุปหลักการง่ายๆ ที่สามารถนำมาใช้ในการประเมินว่าดินในสถานที่ใดสถานที่หนึ่งนั้นจะมีโอกาสที่จะเกิดการทรุดตัวได้มากหรือน้อยเพียงใดก็คือ ทำการตรวจสอบจากผลการทดสอบดินของชั้นดินตั้งแต่ระดับผิวดินลึกลงไปจนถึงที่ระดับดินประมาณ 10 เมตร นั้นมีค่าเฉลี่ยมีผลออกมาเป็น ดินเหนียวอ่อนมาก หรือ VERY SOFT CLAY ซึ่งก็คือค่า Su ที่มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ 1.25 ตัน/ตร.ม ซึ่งหากจะเทียบออกมาเป็นค่า qu ก็ได้ ซึ่งก็จะมีค่า qu ที่น้อยกว่าหรือเท่ากับ 2.50 ตัน/ตร.ม หรืออาจจะดีขึ้นมาหน่อยก็คือค่าเฉลี่ยมีผลออกมาเป็น ดินเหนียวอ่อน หรือ SOFT CLAY ซึ่งก็คือค่า Su นั้นจะมีค่าที่มากกว่า 1.25 ตัน/ตร.ม แต่ก็ยังน้อยกว่าหรือเท่ากับ 2.50 ตัน/ตร.ม ซึ่งหากจะเทียบออกมาเป็นค่า qu ก็ได้ ซึ่งก็จะมีค่า qu ที่มากกว่า 2.50 ตัน/ตร.ม แต่ก็ยังน้อยกว่าหรือเท่ากับ 5.00 ตัน/ตร.ม ใช่หรือไม่ หากว่าใช่ นั่นก็หมายความว่าดินก็จะมีโอกาสที่จะเกิดค่าการทรุดตัวได้มากแต่หากว่าดินภายในระดับความลึกดังกล่าวนั้นมีค่าเฉลี่ยมีผลออกมาเป็น ดินเหนียวปานกลาง หรือ MEDIUM CLAY ซึ่งก็คือค่า Su นั้นมีค่าที่มากกว่า 2.5 ตัน/ตร.ม ขึ้นไป ซึ่งหากจะเทียบออกมาเป็นค่า qu ก็ได้ ซึ่งก็จะมีค่า qu ที่มากกว่า 5.00 ตัน/ตร.ม แล้วละก็ ดินก็จะมีโอกาสที่จะเกิดค่าการทรุดตัวที่ค่อนข้างจะน้อยนั่นเองครับ

ดังนั้นหากเราจะเริ่มต้นทำการพิจารณาจากค่าอัตราส่วนของน้ำในดินของชั้นดินที่แสดงอยู่ในแผนภูมิการทดสอบดินในรูปตั้งแต่ระดับผิวดินลึกลงไปจนถึงที่ระดับดินประมาณ 10 เมตร นั้นจะมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ประมาณร้อยละ
Wn = ( 84 + 81 + 57 + 59 +82 ) / 5
Wn = 72.6

ซึ่งค่าอัตราส่วนของน้ำในดินเท่ากับร้อยละ 72.6 นั้นถือได้ว่ามีความเข้าใกล้เกณฑ์ของค่าอัตราส่วนของน้ำในดินร้อยละ 80 ที่ผมได้อธิบายไปแล้วก่อนหน้านี้มากๆ เลย ดังนั้นสำหรับการพิจารณาค่าอัตราส่วนของน้ำในดินเราอาจจะสามารถสรุปได้เลยว่า ดินบริเวณนี้จะมีโอกาสที่จะเกิดการทรุดตัวได้อย่างรวดเร็วและก็มากด้วย แต่ สักครู่นะ อย่างที่ผมได้เรียนไปว่า เพื่อให้เกิดความมั่นใจเพิ่มขึ้นไปอีก เราจึงควรที่จะต้องทำการพิจารณาถึงค่าหน่วยแรงเฉือนแบบไม่ระบายน้ำด้วย ดังนั้นเมื่อเราทำการพิจารณาจากค่าหน่วยแรงเฉือนแบบไม่ระบายน้ำของชั้นดินที่แสดงอยู่ในแผนภูมิการทดสอบดินในรูปตั้งแต่ระดับผิวดินลึกลงไปจนถึงที่ระดับดินประมาณ 10 เมตร นั้นจะมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่
Su = ( 0.84 + 0.81 + 1.73 + 1.71 + 0.83 ) / 5
Su = 1.18 T/M^(2)

ซึ่งเมื่อพิจารณาจากค่าหน่วยแรงเฉือนแบบไม่ระบายน้ำของชั้นดินแล้วก็จะพบว่า หากค่า Su ของชั้นดินตั้งแต่ระดับผิวดินลึกลงไปจนถึงที่ระดับดินประมาณ 10 เมตร นั้นมีค่าเฉลี่ยมีผลออกมาที่มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ 1.25 ตัน/ตร.ม แสดงว่า ดินนั้นๆ จะมีสภาพเป็น ดินเหนียวอ่อนมาก หรือ VERY SOFT CLAY และนั่นก็หมายความว่า ดินในโครงการก่อสร้างของเราก็จะมีโอกาสที่จะเกิดค่าการทรุดตัวได้สูงมากๆ เลยนะครับ
จะเห็นได้ว่าผลสรุปที่ออกมาจากการพิจารณาค่าหน่วยแรงเฉือนแบบไม่ระบายน้ำของชั้นดินดังกล่าวก็จะออกมามีความสอดคล้องกันกับการพิจารณาจากค่าอัตราส่วนของน้ำในดินและผลจากตารางแสดงลักษณะของชั้นดินเช่นเดียวกันเลย ดังนั้นเราก็สามารถที่จะสรุปได้เลยว่า ไม่ควรที่กำหนดให้โครงสร้างพื้นๆ นี้ให้เป็น พื้นวางบนดินที่วางตัวอยู่บนดินโดยตรงแต่ควรที่จะก่อสร้างเป็น พื้นวางบนโครงสร้าง ที่วางตัวอยู่บนโครงสร้างเสาเข็มนั่นเองนะครับ

หวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านจากคำตอบในวันนี้น่าที่จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ
#โพสต์ของวันอาทิตย์
#ถามตอบชวนสนุก
#ตอบปัญหาการพิจารณาเรื่องดินว่ามีโอกาสจะเกิดการทรุดตัวหรือไม่
ADMIN JAMES DEAN


บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปัน ไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service) Certified by SGS (Thailand) Ltd.

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 15-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดิน แต่ละพื้นที่ ทดสอบโดย Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)

สอบถามเพิ่มเติมได้ 24ชม. ทุกวันค่ะ
☎️ 082-790-1447 (คุณจิน)
☎️ 082-790-1448 (คุณสปัน)
☎️ 082-790-1449 (คุณปุ๊ก)
☎️ 091-9478-945 (คุณสปัน)
☎️ 091-8954-269 (คุณสปัน)
☎️ 091-8989-561 (คุณมาย)
📲 https://lin.ee/hum1ua2
🎥 https://lin.ee/gN4OMZe
📥 https://m.me/bhumisiam

 

🌎 Web:
bhumisiam.com
micro-pile.com
spun-micropile.com
microspunpile.com
bhumisiammicropile.com

เสริมฐานรากอาคาร ให้มีความคงทน รองรับแรงสั่นสะเทือนในการตอกเสาเข็ม

เสริมฐานรากอาคาร ให้มีความคงทน รองรับแรงสั่นสะเทือนในการตอกเสาเข็ม

การสร้างอาคารที่มีขนาดใหญ่ยังคงเกิดขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งการออกแบบระบบฐานรากและเสาเข็มของอาคารต้องใช้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ของผู้ออกแบบเป็นพิเศษ เพื่อให้โครงสร้างฐานรากรับน้ำหนักได้อย่างปลอดภัย โดยผู้เชี่ยวชาญจะคำนึงถึงรูปแบบอาคารและเงื่อนไขที่ใช้ และวิเคราะห์โครงสร้างเพื่อหาผลกระทบที่มีต่ออาคารตามกฎที่กำหนดการรองรับน้ำหนัก ความต้านทาน ความคงทนของอาคาร และพื้นดินที่สามารถรองรับอาคารในการต้านทานแรงสั่นสะเทือนขนาดตอกเสาเข็มได้ ดังนั้นเพื่อให้โครงสร้างมีฐานรากที่แข็งแรง จึงต้องเลือกใช้เสาเข็มที่สามารถตอบโจทย์กับปัญหาที่กล่าวมาข้างต้นได้

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile ผลิตโดยใช้กรรมวิธีการเหวี่ยงคอนกรีตในแบบหล่อ ทำให้เสาเข็มมีความหนาแน่นและแข็งแกร่งกว่าตอนกรีตที่หล่อด้วยวิธีธรรมดา มีคุณสมบัติที่ดีในเรื่องความสั่นสะเทือนในขณะตอกมีน้อยกว่าเสาเข็มใหญ่ ช่วยลดความกระทบกระเทือนที่มีต่ออาคารข้างเคียงได้มาก ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เรายินดีให้คำปรึกษาฟรี และพร้อมให้บริการท่านทั่วประเทศ!!

Miss Nirin

Bhumisiam (ภูมิสยาม)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน ทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)


สอบถามเพิ่มเติมได้ 24ชม. ทุกวันค่ะ☎️  ☎️  ☎️  ☎️  ☎️  ☎️ 📲 📥

082-790-1447
082-790-1448
082-790-1449
091-9478-945
091-8954-269
091-8989-561
https://lin.ee/hum1ua2
https://m.me/bhumisiam

ภูมิสยามฯ สมทบทุนสร้างสนามกีฬาต้านยาเสพติดให้กับ โรงเรียน — ข่าวสยามกีฬา

posted in: Social Responsibility

ภูมิสยามฯ สมทบทุนสร้างสนามกีฬาต้านยาเสพติ ให้กับโรงเรียน — ข่าวสยามกีฬา

นายรัฐโรจน์ ภูริหิรัญพิพัฒ (ที่ 4 จากซ้าย) กรรมการผู้จัดการบริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้ผลิตและจัดจำหน่ายเสาเข็มสปันไมโครไพล์ เทคโนโลยีการผลิตจากประเทศเยอรมั พร้อมด้วยครอบครัว สมทบทุนสร้างสนามกีฬาต้านยาเสพติ มูลค่ารวมกว่า 350,000 บาท เพื่อสนับสนุนให้เด็กนักเรียนเล่นกีฬา และทำกิจกรรมใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ไม่มั่วสุมเรื่องยาเสพติด ซึ่งถือเป็นโครงการตอบแทนสังคมที่ทำมาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งมีคณะครูโรงเรียนฯ ร่วมเป็นสักขีพยาน ณ โรงเรียนวัดธัญญะผล อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี

Bhumisiam (ภูมิสยาม)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service) Certified by SGS (Thailand) Ltd.บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 15-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดิน แต่ละพื้นที่ ทดสอบโดย Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติมรายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)ต้องการตอกเสาเข็ม
สปันไมโครไพล์

ปรึกษาทีมงานได้ที่

LINE น้องสปัน
http://line.me/ti/p/~bsp15

LINE น้องจินนี่
http://line.me/ti/p/~0827901447

LINE@BHUMISIAM
https://line.me/R/ti/p/%40bhumisiam

☎ สายด่วนภูมิสยาม:
082-790-1447
082-790-1448
082-790-1449
091-947-8945
081-634-6586

🌎 Web:
bhumisiam.com
micro-pile.com
spun-micropile.com
microspunpile.com
bhumisiammicropile.com

1 7 8 9 10 11 12 13 16