บทความการตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile ไมโครไพล์ Micropile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ หรือเข็มไอ I-Micropile เสาเข็มเพื่อการต่อเติม เสริมฐานราก และงานสร้างใหม่ ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐาน ISO 9001:2015 ภายใต้การรับรองระบบงานของ UKAS และ NAC และมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม (The Provision of Pile Driving Service)

ประเภทของยางมะตอย ที่นิยมนำมาใช้งานเทปิดผิวหน้าของทางและถนน

ประเภทของยางมะตอย ที่นิยมนำมาใช้งานเทปิดผิวหน้าของทางและถนน

ยางมะตอย ก็คือ วัสดุที่สกัดได้จากน้ำมันดิบ มีลักษณะเป็นสีดำ มีความเหนียว และความหนืดที่ค่อนข้างจะต่ำ ยางมะตอยนิยมใช้ในงานการก่อสร้างทางและถนนเป็นหลัก โดยที่จะใช้เป็นวัสดุปิดทับที่ผิวหน้า ซึ่งคุณสมบัติที่สำคัญของยางมะตอยก็คือจะทำหน้าที่ประสานระหว่างวัสดุหยาบ เช่น หิน ทราย เป็นต้น โดยจะช่วยทำให้การผสมนั้นเข้ากันจนเป็นเนื้อเดียวกันได้ดียิ่งขึ้น โดยวัสดุที่ถูกนำมาใช้ในการเทผิวหน้าของถนนนั้นจะมีชื่อเรียกแบบเต็มๆ ว่า แอสฟัลท์ติกคอนกรีต หรือ ASPHALTIC CONCRETE และ มักที่จะเรียกแบบย่อๆ กันว่า แอสฟัลท์

ยางมะตอยมี 3 ประเภทหลักๆ ได้แก่
1. ยางมะตอยประเภทที่มีความแข็งตัว หรือ แอสฟัลท์ซีเมนต์ (ASPHALT CEMENT หรือ AC)
ยางมะตอยชนิดนี้เป็นยางมะตอยที่ได้จากหินแอสฟัลท์ธรรมชาติ หรือ ผลพลอยได้จากการกลั่นน้ำมัน ยางมะตอยชนิดนี้จะมีลักษณะที่ค่อนข้าง แข็ง และ เหนียว โดยที่ยางมะตอยชนิดนี้ยังสามารถแบ่งออกได้เป็นชนิดต่างๆ โดยแบ่งเกณฑ์ได้ตามค่าความแข็ง ซึ่งวัดได้เป็นค่า PENETRATION GRADE ยางมะตอยชนิดนี้ยังสามารถที่จะใช้ผสมกับหินขนาดต่างๆ ที่ต้องผ่านกระบวนการๆ เผาหินให้มีความร้อนและปราศจากซึ่งความชื้นแล้วค่อยนำไปผสมกับยางมะตอยชนิดนี้ที่ถูกทำให้ร้อนและเหลวพอที่จะสามารถทำการกวนและผสมให้เข้ากันได้ โดยต้องดูว่ายางมะตอยชนิดนี้จะต้องสามารถเคลือบผิวเม็ดหินได้อย่างทั่วถึงก่อนที่จะถูกนำไปใช้ปูลาดบนพื้นทาง สามารถที่จะทำการบดทับให้แน่นเป็นผิวทางบนท้องถนนได้

(2) ยางมะตอยประเภทที่เป็นน้ำมัน หรือ ยางคัตแบกแอสฟัลท์ (CUT BACK หรือ CB)
ยางมะตอยชนิดนี้เป็นยางยางมะตอยชนิดเหลวที่อุณหภูมิปกติ ซึ่งจะได้จากการนำยางมะตอย AC มาผสมเข้ากันกับสารทำละลาย เพื่อทำให้ยางแข็ง AC นั้นมีความเหลวตัวลง ทั้งนี้ก็เพื่อให้สะดวกในการใช้งานมากยิ่งขึ้นโดยที่ไม่ต้องให้ความร้อนที่สูงมาก เมื่อตัวทำละลายระเหยไปก็จะทำให้ยางมะตอยนั้นมีเนื้อที่แข็งขึ้นไปอีก ซึ่งในที่สุดก็จะทำหน้าที่ในการประสานให้วัสดุต่างๆ นั้นเกิดการยึดเกาะกันแน่นมากยิ่งขึ้น หรือ ใช้เป็นไพรมโคท

(3) ยางมะตอยประเภทที่เป็นน้ำ หรือ ยางอีมัลชั่น หรือ อีมัลซีฟายแอสฟัลท์ (EMULSIFIED ASPHALT หรือ EA)
ยางมะตอยชนิดนี้เป็นยางมะตอยน้ำที่ได้จากการใช้ยางมะตอย AC มาทำให้ร้อนและทำให้แตกตัวออกเป็นอณุภาคเล็กๆ ด้วยอีมัลซีฟายเออร์ ทั้งนี้ก็เพื่อให้สามารถที่จะจับตัวและผสมเข้ากันกับอณุภาคของน้ำจนเป็นยางน้ำนั่นเอง โดยที่ยางมะตอยชนิดนี้จะมีเนื้อยางอยู่ที่ประมาณร้อยละ 50 ถึง 60 ยางชนิดนี้จะมีความสะดวกในการนำมาใช้งานมากๆ โดยสามารถที่จะนำมาใช้งานได้หลากหลายประเภท เช่น งานก่อสร้างทาง งานซ่อมบำรุงผิวทาง เป็นต้น ทั้งนี้เป็นเพราะว่าในการผลิตยางมะตอยชนิดนี้ไม่จำเป็นที่จะต้องใช้ความร้อนใดๆ ทั้งสิ้นเลย ถึงแม้ว่าวัสดุที่เป็นหินจะเปียกน้ำก็สามารถนำมาใช้กับยางประเภทนี้ได้ เมื่อน้ำระเหยไปหมดก็จะคงเหลือเอาไว้เพียงแต่เนื้อยางที่จับแน่นอยู่ที่ผิวของหินซึ่งก็จะทำหน้าที่เป็นตัวยึดประสานให้หินนั้นยึดติดเข้าด้วยกัน ซึ่งจะทำให้มีความสะดวกมากกว่าการใช้ยางมะตอย CB หรือ ยางมะตอย AC ที่จำเป็นที่จะต้องให้หินนั้นมีผิวที่แห้งและปราศจากความชื้นก่อนการใช้งาน

จะเห็นได้ว่า ยางมะตอย มีหลายประเภทด้วยกัน ซึ่งยางมะตอยแต่ละประเภทจะมีคุณสมบัติทางด้านกายภาพต่างๆ ที่มีความแตกต่างกันออกไปด้วย ดังนั้นสำหรับการเลือกใช้งานยางมะตอยแต่ละประเภทเราก็มีความจำเป็นที่จะต้องเลือกใช้งานให้มีความเหมาะสมกับประเภทของการทำงานและคุณสมบัติที่ได้มีการกำหนดเอาไว้ในคุณสมบัติของงานก่อสร้างด้วย

Miss Spunpile 

Bhumisiam (ภูมิสยาม)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน ทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)


สอบถามเพิ่มเติมได้ 24ชม. ทุกวันค่ะ
☎️ 082-790-1447
☎️ 082-790-1448
☎️ 082-790-1449
☎️ 091-9478-945
☎️ 091-8954-269
📲 https://lin.ee/hum1ua2
📥 https://m.me/bhumisiam

#ไมโครไพล์ #เสาเข็มไมโครไพล์ #Micropile

งานตอกเสาเข็ม งานรีบ งานเร่ง งานด่วน ภูมิสยามช่วยได้ค่ะ!!

posted in: PILE DRIVING

งานด่วน งานเร่ง ขยายโรงงาน หรือต่อเติม ตอกเสาเข็มเร่งด่วน ภูมิสยามพร้อมบริการตลอดเวลา เสา Spunmicropile เป็นเสาที่มีความแข็งแกร่งสูง การสั่นสะเทือนน้อยไม่ทำลายโครงสร้างเดิม และตอบโจทย์การก่อสร้างในพื้นที่จำกัด วิศวกรแนะนำให้ใช้สปันไมโครไพล์แท้ มาตรฐาน มอก.ค่ะSpun-micropile Spun-micropile

เนื่องด้วยเสาเข็มของภูมสยามมีมาตรฐาน มอก.รองรับ จึงทำให้ได้งานที่มีคุณภาพ และ การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มสภาพชั้นดิน ทดสอบโดย Dynamic Load Test เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม ช่วงนี้งานเสริมฐานรากอาคาร หรือ ต่อเติมบ้าน ต่อเติมหน้าบ้าน หลังบ้าน ต่อเติมอาคาร ก็กำลังมาแรง วันนี้ Ms.Spunpile มีภาพการเตรียม ต่อเติม มาฝากเพิ่มเติมค่ะ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. โดย ภูมิสยาม เหมาะกับงานนี้ เพราะเราพร้อมบริการ สามารถทำงานในที่แคบได้ เข้าซอยแคบเหมาะกับในเมือง ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 15-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดิน แต่ละพื้นที่ ทดสอบโดย Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม
รายการเสาเข็มภูมิสยาม

1. สี่เหลี่ยม S18x18 cm.
หรือ 22 cm. แนวทแยง
รับน้ำหนัก 15-20 ตัน/ต้น

2. กลม Dia 21 cm.
รับน้ำหนัก 20-25 ตัน/ต้น

3. กลม Dia 25 cm.
รับน้ำหนัก 25-35 ตัน/ต้น

4. กลม Dia 30 cm.
รับน้ำหนัก 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)

ต้องการตอกเสาเข็ม
สปันไมโครไพล์
ปรึกษาทีมงานได้ที่

LINE น้องสปัน
http://line.me/ti/p/~bsp15

LINE น้องจินนี่
http://line.me/ti/p/~0827901447

LINE@BHUMISIAM
https://line.me/R/ti/p/%40bhumisiam

☎ สายด่วนภูมิสยาม:
082-790-1447
082-790-1448
082-790-1449
081-634-6586

🌎 Web:
bhumisiam.com
micro-pile.com
spun-micropile.com
microspunpile.com
bhumisiammicropile.com

คุณสมบัติของคอนกรีตที่ใช้ผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (SPUN MICRO PILE)

คุณสมบัติของคอนกรีตที่ใช้ผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)

  • หินและทราย: ตรวจสอบ GRADATION ตามข้อกำหนดของมวลรวมผสม มอก.
  • ปูนซิเมนต์ปอร์ตแลนด์: ตามข้อกำหนดของ ASTM DESIGNATION c150 TYPE1 หรือ TYPE3 หรือตามข้อกำหนด มอก. ประเภท1 หรือประเภท3
  • ค่ากำลังอัดประลัยของคอนกรีต (ULTIMATE COMPRESSIVE STRENGTH OF CONCRETE) ของแท่งทรงกระบอกไม่ต่ำกว่า 700 กก. /ซม 2 ตามข้อกำหนด มอก.
  • ค่ากำลังอัดคอนกรีตที่ถ่ายแรงเข้าเนื้อคอนกรีต (COMPRESSIVE STRENGTH OF CONCRETE AT TRANSFER) ของแท่งทรงกระบอกไม่ต่ำกว่า 250 กก./ซม2. ตามข้อกำหนด มอก.

โรงงานของเราผลิตเสาเข็มโดยใช้ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเถท 3 ยี่ห้อ SCG 100%

Bhumisiam (ภูมิสยาม)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service) Certified by SGS (Thailand) Ltd.บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 15-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดิน แต่ละพื้นที่ ทดสอบโดย Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติมรายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)

ต้องการตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์
ปรึกษาทีมงานได้ที่

LINE น้องสปัน
http://line.me/ti/p/~bsp15

LINE น้องจินนี่
http://line.me/ti/p/~0827901447

LINE@BHUMISIAM
https://line.me/R/ti/p/%40bhumisiam

☎ สายด่วนภูมิสยาม:
082-790-1447
082-790-1448
082-790-1449
091-947-8945
081-634-6586

🌎 Web:
bhumisiam.com
micro-pile.com
spun-micropile.com
microspunpile.com
bhumisiammicropile.com

การเจาะสำรวจดิน (SOIL BORING TEST)

การเจาะสำรวจดิน (SOIL BORING TEST)

สภาพชั้นดินในหลายพื้นที่ของประเทศไทยนั้นอาจมีความแปรปรวนของชั้นดิน ทำให้สภาพพื้นที่แตกต่างไปจากพื้นที่ทั่วไป เช่น มีชั้นทรายหลวมผิดปกติ มีชั้นดินเหนียวอ่อน หรือระดับความลึกของชั้นดินที่แข็งแรงมีความผันแปรสูง เป็นต้น จากสภาพของชั้นดินดังกล่าว อาจทำให้ฐานรากเกิดการวิบัติได้ ซึ่งทำให้เกิดความเสียหายอย่างคาดไม่ถึง ก่อนที่วิศวกรจะทำการออกแบบฐานรากให้ดีและเหมาะสมนั้น จึงต้องจัดให้มีการเจาะสำรวจดินอย่างเพียงพอ เพื่อให้การออกแบบสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ เป็นไปอย่างละเอียดรอบครอบ ถูกต้องตามหลักวิศวกรรม เพื่อการวิเคราะห์ดินจากประสบการณ์และการสังเกต เมื่อทราบข้อมูลเกี่ยวกับดินในส่วนใดแล้ว จะต้องมีการวางแผนการสำรวจดิน เพื่อให้ประหยัดทั้งเวลาและค่าใช้จ่าย พร้อมกับได้ข้อมูลที่ถูกต้อง เพราะดินมีคุณสมบัติที่ซับซ้อนและเปลี่ยนแปลงไปตามสถานที่ต่างๆ จึงยังไม่มีวิธีใดที่เหมาะสมที่สุดไปกับดินทุกสภาพ

การเจาะสำรวจดินในเบื้องต้น เป็นการเจาะหรือขุดดินเพียงเล็กน้อย เพื่อต้องการทราบชนิดของดิน การเรียงตัวของชั้นดิน ระดับน้ำใต้ดินและอื่นๆ อันจะเป็นประโยชน์ในการเตรียมเครื่องมือและวางแผนงานได้ดี ส่วนการเจาะดินโดยละเอียดนั้น เป็นการวางแผนเจาะดินอย่างละเอียดเกี่ยวกับการเจาะสารวจชั้นดิน โดยทั่วไปจะระบุ ตำแหน่งเจาะดิน จำนวนหลุมเจาะดิน ความลึกของหลุมเจาะสำรวจชั้นดินมีการทดสอบด้านใดบ้าง โดยปกติแล้วจะต้องการข้อมูลสำหรับทำข้อมูลความแข็งแรงของดินและข้อมูลเพื่อใช้คำนวณหาการทรุดตัวของสิ่งก่อสร้าง

เครื่องมือที่ใช้สำหรับเจาะสำรวจดินในปัจจุบัน แยกได้ 4 ส่วน คือ เครื่องมือเจาะดิน เครื่องมือเก็บตัวอย่างดิน เครื่องมือทดสอบดินในสนาม และเครื่องมือทดสอบดินในห้องปฏิบัติการ แต่ในที่นี้จะกล่าวถึงเครื่องมือทดสอบดินในสนามเท่านั้น โดยพิจารณาถึงขอบเขตความสามารถของเครื่องมือเป็นหลัก

Trial pit test pit เป็นการขุดหลุมโดยใช้แรงคน ซึ่งหาได้ง่ายในท้องถิ่น สามารถขุดได้กับดินที่ไม่แข็งมาก และในความลึกไม่มาก มีการรบกวนดินน้อยสามารถเห็นการเรียงตัวของชั้นดินได้ง่าย แต่อาจจะเจอปัญหาน้ำใต้ดินเวลาที่ขุดลึกกว่า 2 เมตร และถ้าเป็นดินทรายก็อาจจะมีการพังที่หลุมได้ง่ายกว่าดินชนิดอื่นด้วย
Hand auger borings เป็นเครื่องมือที่ง่ายและอาศัยแรงหมุน Auger และนิยมใช้อยู่สองชนิด คือ Helical auger กับ Iwan หรือ Post-hole auger ใช้เจาะดินที่มีแรงยึดเหนี่ยวหรือดินเหนียวมากๆ สามารถเจาะได้ความลึก 5 – 7 เมตร โดยต่อก้านเหล็ก ขนาดของหลุมเจาะด้วย Auger นี้จะมีขนาดประมาณ 2.5 ถึง 4 นิ้ว
Mechanical auger borings เป็นการใช้เครื่องจักรสำหรับหมุน Auger ช่วยให้ทำงานได้รวดเร็วและเจาะดินได้ลึกมากขึ้น ระบบการทำงานได้กำลังเจาะมาจากเครื่องยนต์ที่มีกำลังไม่น้อยกว่า 25 แรงม้า หัวเจาะดินขึ้นลงได้ด้วยระบบไฮดรอลิกส์ ซึ่งนิยมกันมากในประเทศไทย
Shell and auger boring เป็นการเจาะดินด้วย Helical auger ร่วมกับการใช้ท่อ Casing สำหรับดินที่ไม่มีความเชื่อมแน่นเพื่อป้องกันการพังทลายด้านข้างของหลุม ใช้ได้กับดินทุกชนิด นิยมสูบน้ำลงไปในหลุมเพื่อเก็บเศษกรวดและทราย ที่ไหลล้นออกมากับน้ำ
Continuous-flight auger boring ใช้สำหรับดินเหนียวหรือดินทราย หรือกรวดที่มีเม็ดเล็ก มีลักษณะเป็นเกลียวสว่านติดอยู่รอบก้านเจาะโดยตลอดความยาวของก้านเจาะ นิยมใช้กันโดยทั่วไปเช่นกัน
Wash boring เป็นการใช้ความดันของน้ำที่มีส่วนผสมกับสารแขวนลอย (Bentonite) ทำให้ดินหลวมและหลุดลอยเป็นเม็ดขึ้นมา ในการผสมใช้สัดส่วนความหนาแน่น 1.1 ถึง 1.2 ตันต่อลูกบาศก์เมตร ตัวอย่างดินที่ลอยขึ้นมาจะผสมกับน้ำทำให้การนำส่วนที่ตกตะกอนไปวิเคราะห์ได้ผลไม่ละเอียดเท่าที่ควร แต่ก็นิยมใช้กันมากเพราะสามารถทำงานได้อย่างรวดเร็ว
Wash probing เป็นการเจาะดินอย่างง่ายๆ โดยใช้น้ำฉีดลงไปดิน ใช้ประโยชน์ในการหา ความเปลี่ยนแปลงของดินอ่อนหรือหลวมไปหาดินที่แน่นแข็ง นิยมใช้กันมากในการตอกเสาเข็มหรือสำรวจหาชั้นหิน สามารถทำงานได้ง่าย ประหยัดทั้งเวลาและค่าใช้จ่าย
Rotary boring or Rotary drilling เป็นการใช้ใบมีดหรือหัวเจาะหมุนลงไปในดิน โดยกำลังของเครื่องยนต์ ทำงานได้เร็ว นิยมใช้สำหรับเจาะหิน แต่ต้องใช้น้ำเป็นตัวช่วยระบายความร้อนที่หัวเจาะที่ก้นหลุมด้านล่าง
Percussion boring or Percussion drilling เป็นการเจาะที่ต้องอาศัยแรงกระแทกของ Heavy chisel หรือ Spun หรือ Wash boring ในการนำดินขึ้นมาจากหลุม เนื่องเพราะมีแรงกระแทกด้วยของที่หนัก จึงทำให้เป็นการรบกวนตัวอย่างดินในชั้นที่อยู่ลึกลงไป ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีประสบการณ์ ความชำนาญในการควบคุมการเจาะในการปล่อยน้ำหนักเพื่อให้รบกวนดินน้อยที่สุด
การเก็บตัวอย่างดินมี 2 ลักษณะ คือ

ตัวอย่างดินเปลี่ยนสภาพ (Disturbed Sample) เป็นตัวอย่างดินที่ถูกรบกวน จนทำให้โครงสร้าง หรือการจับตัวของเม็ดดินเปลี่ยนไป หรืออาจจะสูญเสียความชื้นในดิน อาจเกิดจากวิธีการเก็บตัวอย่างดิน การขนส่ง และการเก็บรักษาตัวอย่างดิน ซึ่งได้แก่ ตัวอย่างดินที่ได้จากการทดสอบด้วยสว่านมือ และตัวอย่างดินที่ได้จากการตอกวัดค่าด้วยกระบอกผ่า ดินที่ได้ไม่สามารถนำไปทดสอบด้านการรับน้ำหนักของดินได้ เนื่องจากดินได้รับผลกระทบจากการกระแทก การอัด ซึ่งโครงสร้างของดินได้เปลี่ยนไป แต่สามารถนำไปหาคุณสมบัติเพื่อจำแนกประเภทของดินได้
ตัวอย่างดินคงสภาพ (Undisturbed Sample) เป็นตัวอย่างดินที่เก็บในสนาม โดยพยายามให้ทั้งโครงสร้างและองค์ประกอบของดินทุกอย่างเหมือนกับสภาพที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติในสนาม ซึ่งได้แก่ตัวอย่างดินที่เก็บจากกระบอกบางเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 3 นิ้ว ขึ้นไป ถือว่าเป็นตัวอย่างดินที่มีคุณภาพดีที่สุด สามารถนำไปทดสอบคุณสมบัติต่างๆ ในห้องปฏิบัติการเกือบทุกอย่าง รวมถึงคุณสมบัติในความแข็งแรง และคุณสมบัติในการรับน้ำหนักของดิน
ชนิดของกระบอกเก็บตัวอย่างดิน

Piston sample นิยมใช้กับตัวอย่างดินประเภทไม่มีความเชื่อมแน่น ชนิดแบบนี้ค่อนข้างดีสำหรับงานวิจัย หรืองานก่อสร้างขนาดใหญ่
Opendrive sample เป็นท่อเหล็กกระบอกเส้นผ่าศูนย์กลาง 38-100 มม. ยาว 45-50 ซม. ปลายด้านล่างสวม Cutting shoe ซึ่งถอดออกได้ ปลายด้านบนต่อกับกระบอกเก็บตัวอย่างดินโดยใช้ค้อนกระแทกให้กระบอกจมลงไปในดิน ตัวกระบอกส่วนมากทำจากโลหะไร้สนิม ซึ่งส่วนมากจะใช้เก็บดินอ่อน
Standard split spoon sample เป็นกระบอกผ่าครึ่งสองซีก ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางด้านนอก 2 นิ้ว ยาว 24 นิ้ว ใช้ในการทดสอบ S.P.T. ด้านปลายกระบอกมี Cutting shoe สวมไว้ ใช้กับดินทรายหรือดินที่มีทรายปนอยู่มาก แต่ตัวอย่างดินจะถูกรบกวนมากทำให้ดินแปรสภาพได้
Foll sample เป็นการพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทั้งด้านตัวกระบอกเก็บตัวอย่างดินและ Piston อาศัยแผ่นเหล็กกว้าง 13 มม. และหนา 0.40-1.00 มม. สัมผัสกับดินก่อนเข้ากระบอกเก็บตัวอย่างซึ่งจะช่วยลดแรงเสียดทานหรือแรงอัดที่มีต่อดินได้
Bishop compressed air sample ออกแบบเพื่อใช้ในการเก็บดินที่ไม่มีความเชื่อมแน่นที่อยู่ใต้ระดับน้ำ ซึ่งเก็บตัวอย่างดินได้ยาก และเป็นปัญหาในการสำรวจดิน การทำงานของเครื่องมือค่อนข้างจะยุ่งยากซับซ้อน เพราะต้องอัดอากาศในกระบอกด้วยความดันสูงเพื่อไล่น้ำออกและให้ดินสามารถทรงตัวอยู่ในกระบอกเก็บดินได้ ในอังกฤษนิยมใช้กระบอกเก็บดินขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางภายใน 60 มม. ซึ่งเล็กกว่า Bell ไม่มากนัก จะต้องตอก Casing ไปจนถึงระดับที่ต้องการก่อนดำเนินการเก็บตัวอย่างดิน ควรใช้เก็บตัวอย่างในส่วนที่จำเป็นจริงๆ เท่านั้น เพราะจะพบกับอุปสรรคในการนำดินออกจากกระบอกไปทดสอบในภายหลัง บางครั้งจึงมีข้อแนะนำจนผู้เชี่ยวชาญเสนอให้เลือกการทดสอบในสนามแทนที่ โดย Serota and Jennings (1957) ได้ประยุกต์เครื่องมือนี้ขึ้นอีกโดยการอัดอากาศเข้ายังกระบอกเก็บดินซึ่งอยู่ด้านในโดยตรงที่ปลายกระบอกด้านล่าง

แหล่งข้อมูล – แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม่


Miss Spunpile 

Bhumisiam (ภูมิสยาม)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service) Certified by SGS (Thailand) Ltd.

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 15-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดิน แต่ละพื้นที่ ทดสอบโดย Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)


สอบถามเพิ่มเติมได้ 24ชม. ทุกวันค่ะ
☎️ 082-790-1447 (คุณจิน)
☎️ 082-790-1448 (คุณสปัน)
☎️ 082-790-1449 (คุณปุ๊ก)
☎️ 091-9478-945 (คุณสปัน)
☎️ 091-8954-269 (คุณสปัน)
☎️ 091-8989-561 (คุณมาย)
📲 https://lin.ee/hum1ua2
🎥 https://lin.ee/gN4OMZe
📥 https://m.me/bhumisiam

 

🌎 Web:
bhumisiam.com
micro-pile.com
spun-micropile.com
microspunpile.com
bhumisiammicropile.com

เสาเข็มไอไมโครไพล์ I-Micropile ตอกสร้างใหม่ได้ไหม?? ฐานรากจะมั่งคงหรือเปล่า??

เสาเข็มไอไมโครไพล์ I-Micropile ตอกสร้างใหม่ได้ไหม?? ฐานรากจะมั่งคงหรือเปล่า??

หมดข้อสงสัย เพราะเสาเข็มไอไมโครไพล์ เหมาะกับทุกหน้างาน สร้างใหม่ก็หมดห่วงเรื่องฐานราก เสาเข็มไอไมโครไพล์ เป็นเสาเข็มขนาดเล็กรูปตัวไอ ตอกเป็นฐานรากเพื่อความมั่นคงแข็งแรงของโครงสร้างอาคารใหม่ ตลอดจนงานปรับปรุงโครงสร้างต่างๆที่ต้องการเสริมความมั่นคงแข็งแรง โดยเสาเข็มแต่ละท่อน สามารถตอกต่อกันได้โดยการเชื่อมด้วยไฟฟ้า การเชื่อมจะต้องเชื่อมโดยรอบของเสาเข็มทั้งสองท่อน ให้ต่อกันสนิทเป็นแนวเส้นตรง

และปั้นจั่นที่ใช้ตอกเสาเข็มชนิดนี้ ถูกออกแบบมาเป็นพิเศษ ตอกเสาเข็มลงไปทีละท่อน จนได้ความลึก BLOW COUNT ที่กำหนด และการที่เราจะทราบความสามารถในการรับน้ำหนักของเสาเข็มที่แน่นอน จะต้องทำการเจาะสำรวจดิน (SOIL BORING TEST) โดยวิศวกรผู้เชี่ยวชาญ เพื่อให้การออกแบบสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ เป็นไปอย่างละเอียดรอบครอบ ถูกต้องตามหลักวิศวกรรม และทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load Test เสาเข็มของภูมิสยามได้รับ มาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 สร้างใหม่ ไว้ใจเลือกใช่เสาเข็มคุณภาพ โดยภูมิสยาม ผู้ผลิตและจัดจำหน่ายเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และเสาเข็มไอไมโครไพล์ เราพร้อมบริการทั่วประเทศ

Miss Spunpile 

Bhumisiam (ภูมิสยาม)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน ทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)


สอบถามเพิ่มเติมได้ 24ชม. ทุกวันค่ะ
☎️ 082-790-1447
☎️ 082-790-1448
☎️ 082-790-1449
☎️ 091-9478-945
☎️ 091-8954-269
☎️ 091-8989-561
📲 https://lin.ee/hum1ua2
📥 https://m.me/bhumisiam

ประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง โครงสร้างเหล็กรูปพรรณ หรือ STRUCTURAL STEEL

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน

กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ

ตอนนี้เรากำลังพูดถึงเรื่องงาน โครงสร้างเหล็กรูปพรรณ หรือ STRUCTURAL STEEL กันอยู่และหลังจากที่ก่อนหน้านี้ผมได้พูดถึงหลายๆ เรื่องที่มีความเกี่ยวพันกันกับโครงสร้างเหล็กรูปพรรณไปแล้ว เช่น โครงสร้างคานเหล็กรูปพรรณ หรือ STRUCTURAL STEEL BEAM โครงสร้างหลังคายื่น หรือ CANOPY ROOF STRUCTURE เป็นต้น ดังนั้นต่อจากวันนี้ไปผมก็จะขออนุญาตมาพูดถึงเรื่องสำคัญอีกเรื่องหนึ่งเกี่ยวกับงานโครงสร้างเหล็กรูปพรรณนั่นก็คือ โครงสร้างพื้น หรือ FLOOR STRUCTURE ที่เรามักจะนำมาใช้ในงาน โครงสร้างเหล็กรูปพรรณ กันบ้างนะครับ

ในวันนี้พื้นประเภทแรกที่ผมจะขอนำมาใช้ในการอธิบายถึงก็คือ โครงสร้างพื้นตะแกรงเหล็กฉีก หรือ STRUCTURAL STEEL GRATING โดยที่พื้นชนิดนี้ก็จะมีรูปร่างและการใช้งานเป็นไปตามรูปที่ 1 2 3 และ 4 ที่ผมได้นำมาฝากเพื่อนๆ ซึ่งเจ้าพื้นตะแกรงเหล็กที่ได้ทำออกมานั้นก็จะมีทั้งลวดลายและรูปแบบที่มีขนาดความหนาต่างๆ ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะได้นำไปใช้เป็นโครงสร้างพื้นในโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ โดยที่ลวดลายของเจ้าโครงสร้างพื้นตะแกรงเหล็กฉีกนี้ก็มักจะทำออกมาให้มีช่องว่างเกิดขึ้น ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะให้น้ำนั้นสามารถที่จะระบายผ่านไปได้โดยที่ไม่ต้องทำให้พื้นนั้นมีความลาดเอียง หรือ SLOPE ใดๆ เลย พูดง่ายๆ ก็คือ จุดประสงค์ของการทำให้ช่องว่างเหล่านี้นั่นเป็นเพราะเราไม่ต้องการที่จะให้น้ำนั้นต้องขังอยู่ในโครงสร้างพื้นตะแกรงเหล็กฉีกเพราะสุดท้ายแล้วหากเกิดมีน้ำขัง ยิ่งนานวันเข้าก็จะเป็นการเพิ่มโอกาสที่จะทำให้โครงสร้างพื้นตะแกรงเหล็กฉีกของเรานั้นเป็นสนิมได้ ซึ่งหากเราต้องการที่จะนำเอาโครงสร้างพื้นตะแกรงเหล็กฉีกไปใช้ในพื้นที่ๆ มีสภาพแวดล้อมที่ค่อนข้างจะมีความรุนแรงมากๆ อาจจะเป็นความรุนแรงที่เกิดจากน้ำหรือความชื้นหรืออาจจะเกิดจากสารเคมีก็แล้วแต่ เราก็อาจจะเลือกใช้งานโครงสร้างพื้นตะแกรงเหล็กฉีกที่มีการทาด้วยสีกันสนิมก็ได้แต่เนื่องด้วยกระบวนการทานั้นอาจจะทำให้สีกันสนิมนั้นไม่สามารถที่จะเข้าถึงช่องว่างทั้งหมดที่มีอยู่ในโครงสร้างพื้นตะแกรงเหล็กฉีกได้ เราก็อาจที่จะเลือกใช้เป็นการนำเอาโครงสร้างพื้นตะแกรงเหล็กฉีกไปชุบด้วยกัลป์วาไนซ์เหมือนกันกับพื้นตะแกรงเหล็กฉีกในรูปที่ 5 ก็ได้ ซึ่งก็อาจจะทำให้ค่าใช้จ่ายในส่วนของค่าวัสดุนั้นเพิ่มขึ้นบ้างเล็กน้อยแต่สุดท้ายแล้วผลที่จะได้ก็จะมีความคุ้มค่าอย่างแน่นอนครับ

ต่อมาเมื่อเราพูดถึงโครงสร้างพื้นตะแกรงเหล็กฉีกเมื่อใด เราก็ต้องนึกถึงระบบของโครงสร้างที่จะมาทำหน้าที่ในการรองรับน้ำหนักของโครงสร้างพื้นตะแกรงเหล็กฉีกนี้ ซึ่งเราก็มักที่จะใช้เป็น โครงสร้างระบบตงเหล็ก หรือ STEEL JOIST STRUCTURAL SYSTEM ซึ่งขนาดของระยะห่างของตงเหล็กนั้นก็จะขึ้นอยู่กับขนาดความหนาของเจ้าโครงสร้างพื้นตะแกรงเหล็กฉีกเป็นหลัก โดยที่หากดูจากรูปที่ 6 ซึ่งเป็นค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ที่แนะนำให้ใช้ เช่น ค่าน้ำหนักบรรทุกใช้งานในแนวดิ่งกับค่าระยะห่างของตงเหล็กเมื่อมีการวางแบบช่วงเดียวหรือต่อเนื่องเป็นช่วงๆ เป็นต้น ซึ่งก็จะเห็นได้ว่า ยิ่งโครงสร้างพื้นตะแกรงเหล็กฉีกของเรานั้นมีความหนาที่มาก มีระยะห่างของตงเหล็กที่ถี่มากๆ และมีรูปแบบของการวางที่มีความต่อเนื่องแบบหลายๆ ช่วงมากเท่าใด ก็จะยิ่งทำให้โครงสร้างพื้นตะแกรงเหล็กฉีกของเรานั้นมีค่าความสามารถในการรับน้ำหนักบรรทุกในแนวดิ่งที่มากขึ้นตามไปด้วยนะครับ

สุดท้ายสิ่งที่ผมอยากจะขอฝากเอาไว้สำหรับโครงสร้างพื้นประเภทนี้ก็คือ เนื่องจากตัวโครงสร้างพื้นตะแกรงเหล็กฉีกนั้นมีขนาดความหนาที่ค่อนข้างที่จะน้อยมากๆ ซึ่งก็ต้องอาศัยตงเหล็กมาช่วยเป็นตัวซอยเพื่อให้สามารถที่จะช่วยในการรับน้ำหนักบรรทุกในแนวดิ่งได้ ดังนั้นหากเพื่อนๆ เป็นผู้ออกแบบผมอยากจะขอให้คำแนะนำเอาไว้เพียงสั้นๆ ว่า เพื่อนๆ ควรที่จะหลีกเลี่ยงการที่จะทำการออกแบบอาคารของเพื่อนๆ ให้มีคุณลักษณะของ DIAPHRAGM แต่หากมีความต้องการที่จะทำการจำลองให้มีคุณลักษณะของ DIAPHRAGM จริงๆ ก็อาจจะต้องพิจารณานำเอาค่า EQUIVALENT LATERAL STIFFNESS ที่มีอยู่ในโครงสร้างตงเหล็กมาใช้ก็พอได้แต่ก็จะต้องพิจารณาเรื่องจำเป็นอื่นๆ เพิ่มเติมด้วย เช่น ต้องทำการพิจารณาและออกแบบให้โครงสร้างส่วนนี้ให้สามารถที่จะมีกำลังรับแรงกระทำตามแนวแกนหรือ AXIAL FORCE CAPACITY ที่มีความเพียงพอด้วยเสมอ เป็นต้นนะครับ
ในสัปดาห์หน้าผมจะนำเอาเรื่องพื้นประเภทใดมาอธิบายต่อเพื่อให้เพื่อนๆ ทุกคนได้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องประเภทของพื้นที่มีการใช้งานในโครงสร้างเหล็กรูปพรรณก็สามารถที่จะติดตามรับชมและอ่านบทความของผมกันได้ในสัปดาห์หน้านะครับ

หวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านจากคำตอบในวันนี้น่าที่จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ
#โพสต์ของวันพุธ
#ความรู้เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง
#ความรู้เรื่องโครงสร้างพื้นที่มีการใช้งานในโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ
#ครั้งที่1
ADMIN JAMES DEAN


บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปัน ไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service) Certified by SGS (Thailand) Ltd.

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 15-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดิน แต่ละพื้นที่ ทดสอบโดย Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)

สอบถามเพิ่มเติมได้ 24ชม. ทุกวันค่ะ
☎️ 082-790-1447 (คุณจิน)
☎️ 082-790-1448 (คุณสปัน)
☎️ 082-790-1449 (คุณปุ๊ก)
☎️ 091-9478-945 (คุณสปัน)
☎️ 091-8954-269 (คุณสปัน)
☎️ 091-8989-561 (คุณมาย)
📲 https://lin.ee/hum1ua2
🎥 https://lin.ee/gN4OMZe
📥 https://m.me/bhumisiam

 

🌎 Web:
bhumisiam.com
micro-pile.com
spun-micropile.com
microspunpile.com
bhumisiammicropile.com

ต่อเติมโรงงานหรือเสริมรากฐานเพิ่ม ด้วยเสาเข็ม Spun Micropile

posted in: PILE DRIVING

ต่อเติมโรงงานหรือเสริมรากฐานเพิ่ม ตอกรับพื้นถึงชั้นดินดานเพื่อรองรับโครงสร้างและป้องกันการทรุดตัว ต้องการเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน แนะนำเข็มสปันไมโครไพล์แท้ (Spun Micro Pile) โดยภูมิสยามค่ะ!!

เพราะฐานรากดีเริ่มจากเสาเข็มที่สามารถรับน้ำหนักโครงสร้างทั้งหมด เพื่อป้องกันการทรุดตัวที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต เราขอแนะนำเสาเข็มสปันไมโครไพล์ โดยภูมิสยาม เป็นเสาเข็มที่เหมาะกับทุกงานก่อสร้าง ไม่ว่าจะต่อเติมหรือสร้างใหม่ เพราะเป็นเสาเข็มผลิตจากการสปัน มีความแข็งแกร่งสูง มีความสามารถในการรับน้ำหนักได้ 15-50ตัน/ต้น ทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load Testเสาเข็มไมโครไพล์ เสาเข็มไมโครไพล์ เสาเข็มไมโครไพล์ภูมิสยามผู้ผลิตและจัดจำหน่าย เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile เจ้าแรกที่ได้รับมาตรฐาน มอก. 397-2562 (พัฒนาจาก มอก. เดิม 397-2524) และไอไมโครไพล์ I Micropile มาตรฐาน มอก. 396-2549 กระบวนการผลิตและการตอกได้มาตรฐาน ISO 9001:2015 และ ISO 45001:2018 เสาเข็มคุณภาพโดยภูมิสยาม ช่วยแก้ปัญหาการก่อสร้างต่อเติมหรือสร้างใหม่ สะดวกสะอาดรวดเร็วค่ะ เสาเข็มผลิตด้วยเทคโนโลยีจากประเทศเยอรมัน

✔️ เสาเข็มสปัน มอก. 397-2562
✔️ เสาเข็ม I มอก. 396-2549
✔️ รับประกัน 7 ปี! (เสาเข็มสปัน)
✔️ รับประกัน 3 ปี! (เสาเข็ม I)
✔️ ออกแบบฐานรากฟรี
✔️ รายการคำนวณฟรี
✔️ สำรวจหน้างานฟรี
✔️ การตอก ISO 9001:2015
✔️ การตอก ISO 45001:2018
✔️ SCG Endorsed Brand
✔️ สะสม Point แลกรับรางวัล
✔️ MICROPILE TRAINING CENTER ศูนย์ฝึกอบรมอาชีพ การตอกเสาเข็มไมโครไพล์
✔️ ประกันความเสียหายระหว่างตอกโดยกรุงเทพประกันภัย
*เงื่อนไขเป็นไปตามที่บริษัทกำหนด

☎️ สายด่วนภูมิสยาม:
082-790-1447
082-790-1448
082-790-1449
091-947-8945
091-895-4269

📲 ไลน์ภูมิสยาม:
1) LINE ID: bsp15
2) LINE ID: bsp829
3) LINE ID: 0827901447
4) LINE ID: 0827901448
5) LINE ID: 0918954269
LINE OA: @bhumisiam

🌎 เว็บไซต์:
www.micro-pile.com
www.spun-micropile.com
www.bhumisiammicropile.com
www.bhumisiam.com
www.microspunpile.com
🔘 Products

🔶 รายการเสาเข็มและการรับน้ำหนัก:
⬆️เสาเข็มไอ ไมโครไพล์
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
⏹เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
⏺เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น
*การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่

#เสาเข็ม
#ตอกเสาเข็ม
#ไมโครไพล์
#สปันไมโครไพล์
#เสาเข็มไมโครไพล์
#เสาเข็มสปันไมโครไพล์
#micropile
#spunmicropile
#piledriving
#microspun

ฝากคำถามแล้วเราจะมาตอบให้ สมการในการตรวจสอบตำแหน่งของจุดศูนย์ถ่วงของกลุ่มโครงสร้างเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน

ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ

สืบเนื่องมาจากเมื่อวันอังคารที่ผ่านมาซึ่งผมได้ทำการอธิบายถึงเรื่อง การแก้ไขโครงสร้างฐานรากที่ใช้เสาเข็มโดยการเพิ่มจำนวนของโครงสร้างเสาเข็มเข้าไป ซึ่งผมได้อธิบายไว้ว่า หลักการที่ง่ายที่สุดในการเพิ่มคือ ให้ทำการเพิ่มจำนวนของเสาเข็มให้อยู่ตรงกันกับตำแหน่งของจุดศูนย์ถ่วงของโครงสร้างฐานราก หรือ หากทำเช่นนั้นไม่ได้ก็ให้ทำการตรวจสอบว่าตำแหน่งในการโครงสร้างเสาเข็มนั้นทำให้จุดศูนย์ถ่วงของกลุ่มโครงสร้างเสาเข็มให้ตรงกันกับตำแหน่งของจุดศูนย์ถ่วงของโครงสร้างฐานรากน่ะครับ


ซึ่งในวันนั้นผมเองก็ได้ให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ ไว้ด้วยว่า สมการในการตรวจสอบตำแหน่งของจุดศูนย์ถ่วงของกลุ่มโครงสร้างเสาเข็มนั้นก็คือสมการ
Yb = ∑Ai×yi / ∑Ai

ซึ่งสมการข้างต้นเป็นสมการพื้นฐานที่เพื่อนๆ แฟนเพจที่เป็นวิศวกรน่าที่จะคุ้นเคยกันดีอยู่แล้วเพราะเราต้องใช้สมการๆ นี้ในการคำนวณหลายๆ เรื่องเลย เช่น ในการคำนวณทางด้านกลศาสตร์ของโครงสร้าง หรือ STRUCTURAL MECHANICS หรือ ในการคำนวณทางด้านงานออกแบบโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก หรือ RC STRUCTURAL DESIGN เป็นต้น แต่ทั้งนี้เพื่อเป็นการทบทวนความจำแก่เพื่อนๆ วันนี้ผมจึงจะขออนุญาตมาทวนและยกตัวอย่างถึงวิธีการใช้งานสมการๆ นี้ให้ก็แล้วกันนะครับ
ค่า Yb ก็คือ ตำแหน่งของจุดศูนย์ถ่วงของโครงสร้างที่เรากำลังพิจารณา โดยที่ค่าๆ นี้จะอยู่ในทางทิศทางใด ก็จะขึ้นอยู่กับตำแหน่งที่เราใช้ในการอ้างอิงเป็นหลัก ค่า Ai ก็คือ ขนาดของพื้นที่หน้าตัดของชิ้นส่วนโครงสร้างที่เรากำลังพิจารณา และ ค่า yi ก็คือ ตำแหน่งของชิ้นส่วนโครงสร้างที่เรากำลังพิจารณา โดยที่ค่าๆ นี้จะอยู่ในทางทิศทางใด ก็จะขึ้นอยู่กับตำแหน่งที่เราใช้ในการอ้างอิงเป็นหลัก ซึ่งผมต้องขอเน้นไว้ตรงนี้เลยว่า จากสมการๆ นี้จะสามารถใช้ได้สำหรับกรณีที่ชิ้นส่วนโครงสร้างนั้นมีความแข็งแรงของวัสดุที่เท่าๆ กันเท่านั้น เอาละเพื่อเป็นการไม่เสียเวลา เรามาดูตัวอย่างง่ายๆ ประกอบคำอธิบายของผมเลยก็แล้วกันนะครับ

ผมทำตัวอย่างขึ้นมา 2 ตัวอย่าง โดยที่เป็นตัวอย่างของการจัดเหล็กเสริมในหน้าตัดโครงสร้างคาน คสล รับแรงดัด โดยที่ในกรณีที่ 1 จะเป็นการวางเหล็กเสริมแบบสมมาตร ซึ่งพอผลจากการคำนวณออกมาเพื่อนๆ ก็จะเห็นได้ว่าตำแหน่งของจุดศูนย์ถ่วงของกลุ่มเหล็กเสริมนั้นจะอยู่ที่ตรงกึ่งกลางแบบพอดิบพอดีเลย สำหรับกรณีที่ 2 จะเป็นการวางเหล็กเสริมแบบไม่สมมาตร ซึ่งพอผลจากการคำนวณออกมาเพื่อนๆ ก็จะเห็นได้ว่าตำแหน่งของจุดศูนย์ถ่วงของกลุ่มเหล็กเสริมนั้นจะไม่ได้อยู่ที่ตรงกึ่งกลางเหมือนในกรณีที่ 1 แล้วน่ะครับ

เรามาเริ่มต้นจากกรณีที่ 1 ก่อนก็แล้วกัน ซึ่งผมจะทำการคำนวณหาค่า Ai ก่อน ซึ่งสำหรับกรณีนี้จะมีค่า Ai ทั้งหมด 2 ค่า นั่นก็คือ A1 สำหรับเหล็กข้ออ้อยขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 16 มม ซึ่งจะมีค่าเท่ากับ 2.01 ตร.ซม และ A2 สำหรับเหล็กข้ออ้อยขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 25 มม ซึ่งจะมีค่าเท่ากับ 4.91 ตร.ซม นะครับ

ค่าต่อมาก็คือ yi บ้าง ซึ่งสำหรับกรณีนี้จะมีค่า yi ทั้งหมด 4 ค่านั่นก็คือ สำหรับเหล็กในแถวบน 2 ค่า และเหล็กในแถวล่างอีก 2 ค่า ผมจะเริ่มจากเหล็กแถวล่างก่อนนะ นั่นก็คือ สำหรับเหล็กข้ออ้อยขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 16 มม ซึ่งจะมีค่าเท่ากับ 8 มม และสำหรับเหล็กข้ออ้อยขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 25 มม ซึ่งจะมีค่าเท่ากับ 12.5 มม ต่อมาก็คือ เหล็กแถวบน นั่นก็คือ สำหรับเหล็กข้ออ้อยขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 16 มม ซึ่งจะมีค่าเท่ากับ 72 มม และสำหรับเหล็กข้ออ้อยขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 25 มม ซึ่งจะมีค่าเท่ากับ 67.5 มม ดังนั้นหากเราทำการแทนค่าต่างๆ ที่หาเอาไว้ข้างต้นเราก็จะสามารถทำการคำนวณหาค่า Yb สำหรับกรณีที่ 1 ออกมาได้มีค่าเท่ากับ
Yb = [ ( 2×2.01×8 + 2×4.91×12.5 ) + ( 2×2.01×72 + 2×4.91×67.5 ) ] / ( 4×2.01 + 4×4.91 )
Yb = 1107.2 / 27.68
Yb = 40 มม

เรามาต่อกันที่กรณีที่ 2 เลยนะ สำหรับกรณีนี้จะมีค่า Ai ทั้งหมด 2 ค่า เหมือนเดิม และจะมีความแตกต่างออกไปจากกรณีที่ 1 ตรงที่ค่า yi ซึ่งจะไม่มีค่า yi สำหรับเหล็กข้ออ้อยขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 16 มม ดังนั้นหากเราทำการแทนค่าต่างๆ ที่หาเอาไว้ข้างต้นเราก็จะสามารถทำการคำนวณหาค่า Yb สำหรับกรณีที่ 2 ออกมาได้มีค่าเท่ากับ
Yb = [ ( 2×2.01×8 + 2×4.91×12.5 ) + ( 2×4.91×67.5 ) ] / ( 2×2.01 + 4×4.91 )
Yb = 817.76 / 23.66
Yb = 34.56 มม

 

ซึ่งเพื่อนๆ จะเห็นได้ว่า ผลจากการคำนวณจากกรณที่ 1 จะพบว่าตำแหน่งของจุดศูนย์ถ่วงของกลุ่มเหล็กเสริมนั้นจะอยู่ที่ตรงกึ่งกลางแบบพอดิบพอดีเลยและสำหรับกรณีที่ 2 ที่ตำแหน่งของจุดศูนย์ถ่วงของกลุ่มเหล็กเสริมนั้นจะอยู่ค่อนลงมาต่ำกว่าตำแหน่งกึ่งกลางเล็กน้อยนั้นก็เป็นเพราะว่า ที่เหล็กเสริมแถวบนนั้นจะขาดหายไปซึ่งเหล็กข้ออ้อยขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 16 มม ซึ่งจะส่งผลทำให้ตำแหน่งของจุดศูนย์ถ่วงของชิ้นส่วนโครงสร้างนั้นลดต่ำลงมาเล็กน้อยนั่นเองครับ

หวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านจากคำถามในวันนี้น่าที่จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ
#โพสต์วันศุกร์
#ฝากคำถามแล้วเราจะมาตอบให้
#เทคนิคในการคำนวณหาระยะจุดศูนย์ถ่วงของชิ้นส่วนโครงสร้างที่มีความแข็งแรงเทียบเท่ากัน
ADMIN JAMES DEAN


Bhumisiam (ภูมิสยาม)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน ทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)


สอบถามเพิ่มเติมได้ 24ชม. ทุกวันค่ะ
☎️ 082-790-1447
☎️ 082-790-1448
☎️ 082-790-1449
☎️ 091-9478-945
☎️ 091-8954-269
☎️ 091-8989-561
📲 https://lin.ee/hum1ua2
📥 https://m.me/bhumisiam

ตอกเสาเข็มต่อเติมโรงงาน วิศวกรมั่นใจเลือกใช้เสาเข็มภูมิสยามค่ะ

posted in: PILE DRIVING
จะต่อเติมโรงงาน ขยายโรงงาน ต้องการงานคุณภาพ ฐานรากคุณภาพ เพื่อป้องกันการทรุดและได้มาตรฐานทางวิศวกรรม และที่สำคัญหน้างานต้อง สะอาด สะดวก รวดเร็ว แนะนำใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์แท้ เสาเข็มเราประสิทธิภาพสูง จากการสปัน แข็งแรงกว่าเสาเข็มทั่วไปถึง 10 เท่า ตอบโจทย์การก่อสร้างที่ต้องการมาตรฐานสูง
ต่อเติมโรงงาน ต่อเติมโรงงาน ต่อเติมโรงงาน

ภูมิสยามผู้ผลิตและจัดจำหน่าย เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile เสาเข็มคุณภาพโดยภูมิสยามช่วยแก้ปัญหาการก่อสร้างต่อเติมหรือสร้างใหม่สะดวกสะอาดรวดเร็วค่ะ เสาเข็มผลิตด้วยเทคโนโลยีจากประเทศเยอรมัน เสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. และคุณภาพมาตรฐานโรงงาน กระบวนการผลิตและการตอกได้มาตรฐาน ISO 9001:2015 และ ISO 45001:2018

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

1. สี่เหลี่ยม S18x18 cm.
หรือ 22 cm. แนวทแยง
รับน้ำหนัก 15-20 ตัน/ต้น

2. กลม Dia 21 cm.
รับน้ำหนัก 20-25 ตัน/ต้น

3. กลม Dia 25 cm.
รับน้ำหนัก 25-35 ตัน/ต้น

4. กลม Dia 30 cm.
รับน้ำหนัก 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)

ต้องการตอกเสาเข็ม
สปันไมโครไพล์
ปรึกษาทีมงานได้ที่

LINE น้องสปัน
http://line.me/ti/p/~bsp15

LINE น้องจินนี่
http://line.me/ti/p/~0827901447

LINE@BHUMISIAM
https://line.me/R/ti/p/%40bhumisiam

☎ สายด่วนภูมิสยาม:
082-790-1447
082-790-1448
082-790-1449
081-634-6586

🌎 Web:
bhumisiam.com
micro-pile.com
spun-micropile.com
microspunpile.com
bhumisiammicropile.com

ประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง โครงสร้างเหล็กรูปพรรณ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน

กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ

ตอนนี้เรากำลังพูดถึงเรื่องงาน โครงสร้างเหล็กรูปพรรณ หรือ STRUCTURAL STEEL กันอยู่และหลังจากที่ก่อนหน้านี้ผมได้พูดถึงหลายๆ เรื่องที่มีความเกี่ยวพันกันกับโครงสร้างเหล็กรูปพรรณไปแล้ว เช่น โครงสร้างคานเหล็กรูปพรรณ หรือ STRUCTURAL STEEL BEAM โครงสร้างหลังคายื่น หรือ CANOPY ROOF STRUCTURE เป็นต้น และเพื่อให้ต่อเนื่องจากในสัปดาห์ที่แล้วซึ่งผมได้พูดถึงเรื่องสำคัญอีกเรื่องหนึ่งเกี่ยวกับงานโครงสร้างเหล็กรูปพรรณนั่นก็คือ โครงสร้างพื้น หรือ FLOOR STRUCTURE ที่เรามักจะนำมาใช้ในงานโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ ดังนั้นในวันนี้ผมจะมาอธิบายถึง โครงสร้างพื้นเหล็กแผ่นลาย หรือ STRUCTURAL STEEL CHECKERED PLATE นั่นเองครับ

โดยที่พื้นชนิดนี้ก็จะมีรูปร่างและการใช้งานเป็นไปตามรูปที่ 1 2 และ 3 ที่ผมได้นำมาฝากเพื่อนๆ และหากเพื่อนๆ สังเกตที่ผิวของแผ่นพื้นโครงสร้างเหล็กแผ่นลายนี้ดีๆ ก็จะพบว่า จะมีพื้นผิวเป็นลวดลายที่นูนขึ้นมา ทั้งนี้ก็เพื่อเป็นการป้องกันการลื่นและช่วยให้น้ำนั้นสามารถที่จะไหลไปได้โดยไม่เกิดการขังเพราะต้องไม่ลืมว่าโดยส่วนมากนั้นโครงสร้างพื้นเหล็กแผ่นลายที่มีการใช้งานอยู่ทั่วๆ ไปจะมีความแตกต่างออกไปจากโครงสร้างพื้นตะแกรงเหล็กฉีกที่ผมเคยได้อธิบายไปในสัปดาห์ก่อนตรงที่โครงสร้างพื้นเหล็กแผ่นลายนั้นมักจะไม่ได้มีการทำให้มีช่องว่างขึ้นในตัวเหล็กแผ่น ดังนั้นหากเราปล่อยให้มีน้ำขัง ยิ่งนานวันเข้าก็จะเป็นการเพิ่มโอกาสที่จะทำให้โครงสร้างพื้นตะแกรงเหล็กฉีกของเรานั้นเป็นสนิมได้ เรามาดูรูปที่ 4 และ 5 กันต่อซึ่งก็จะเห็นได้ว่าโครงสร้างพื้นเหล็กแผ่นลายจะมีทั้งลวดลายและรูปแบบที่มีขนาดความหนาต่างๆ กันให้เราเลือกใช้งานด้วยและหากเป็นโครงสร้างพื้นเหล็กแผ่นลายที่ผลิตได้ตรงตามมาตรฐานจริงๆ ก็จะต้องเป็น โครงสร้างพื้นเหล็กแผ่นลายที่ได้มาจากงานหล่อ หรือ งานรีดร้อน ซึ่งไม่ใช่งานที่ถูกสร้างขึ้นโดยการปั้มนูนหรือขึ้นรูปจากเหล็กแผ่นดำน่ะครับ

คล้ายๆ กันกับเมื่อสัปดาห์ที่แล้วที่ผมได้ทาการอธิบายถึงโครงสร้างพื้นตะแกรงเหล็กฉีกเพราะเมื่อใดที่เราพูดถึงโครงสร้างพื้นเหล็กแผ่นลาย เราก็ต้องนึกถึงระบบของโครงสร้างที่จะมาทำหน้าที่ในการรองรับน้ำหนักของโครงสร้างพื้นเหล็กแผ่นลายนี้ด้วยและในทำนองเดียวกันคือ เราก็มักที่จะใช้เป็น โครงสร้างระบบตงเหล็ก หรือ STEEL JOIST STRUCTURAL SYSTEM ซึ่งขนาดของระยะห่างของตงเหล็กนั้นก็จะขึ้นอยู่กับขนาดความหนาของเจ้าโครงสร้างพื้นเหล็กแผ่นลายเป็นหลักเลยแต่ขั้นตอนในการออกแบบโครงสร้างพื้นเหล็กแผ่นลายนั้นจะมีความแตกต่างออกไปจากโครงสร้างพื้นตะแกรงเหล็กฉีกอยู่นิสนึงตรงที่เราสามารถที่จะทำการออกแบบเจ้าโครงสร้างพื้นตะแกรงเหล็กฉีกนี้ได้เลยโดยตรง โดยเราสามารถที่จะอาศัยหลักการในการออกแบบได้เหมือนๆ กันกันกับโครงสร้างเหล็กรูปพรรณหน้าตัดอื่นๆ ได้เลย พูดง่ายๆ ก็คือ เราไม่จำเป็นจะต้องทำการออกแบบโดยการเปิดตารางเหมือนกันกับโครงสร้างพื้นตะแกรงเหล็กฉีกนั่นเองครับ

สิ่งที่ผมอยากจะขอฝากเอาไว้สำหรับการออกแบบและใช้งานโครงสร้างพื้นประเภทนี้ ซึ่งก็จะเหมือนกันกับโครงสร้างพื้นตะแกรงเหล็กฉีกทีได้กล่าวถึงไปในสัปดาห์ที่แล้วก็คือ เนื่องจากตัวโครงสร้างพื้นเหล็กแผ่นลายเองนั้นก็จะมีขนาดความหนาที่ค่อนข้างที่จะน้อยมากๆ ซึ่งก็ต้องอาศัยตงเหล็กมาช่วยเป็นตัวซอยเพื่อให้สามารถที่จะช่วยในการรับน้ำหนักบรรทุกในแนวดิ่งได้ ดังนั้นหากเพื่อนๆ เป็นผู้ออกแบบผมอยากจะขอให้คำแนะนำเอาไว้เพียงสั้นๆ ว่า เพื่อนๆ ควรที่จะหลีกเลี่ยงการที่จะทำการออกแบบอาคารของเพื่อนๆ ให้มีคุณลักษณะของ DIAPHRAGM แต่หากมีความต้องการที่จะทำการจำลองให้มีคุณลักษณะของ DIAPHRAGM จริงๆ ก็อาจจะต้องพิจารณานำเอาค่า EQUIVALENT LATERAL STIFFNESS ที่มีอยู่ในโครงสร้างตงเหล็กมาใช้ก็พอได้แต่ก็จะต้องพิจารณาเรื่องจำเป็นอื่นๆ เพิ่มเติมด้วย เช่น ต้องทำการพิจารณาและออกแบบให้โครงสร้างส่วนนี้ให้สามารถที่จะมีกำลังรับแรงกระทำตามแนวแกนหรือ AXIAL FORCE CAPACITY ที่มีความเพียงพอด้วยเสมอ เป็นต้นนะครับ

ในสัปดาห์หน้าผมจะนำเอาเรื่องพื้นประเภทใดมาอธิบายต่อเพื่อให้เพื่อนๆ ทุกคนได้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องประเภทของพื้นที่มีการใช้งานในโครงสร้างเหล็กรูปพรรณก็สามารถที่จะติดตามรับชมและอ่านบทความของผมกันได้ในสัปดาห์หน้านะครับ

หวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านจากคำตอบในวันนี้น่าที่จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ
#โพสต์ของวันพุธ
#ความรู้เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง
#ความรู้เรื่องโครงสร้างพื้นที่มีการใช้งานในโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ
#ครั้งที่2
ADMIN JAMES DEAN


บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปัน ไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service) Certified by SGS (Thailand) Ltd.

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 15-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดิน แต่ละพื้นที่ ทดสอบโดย Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)

1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น

2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น

3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น

เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)

4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น

5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น

เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)

6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น

7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น

8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)

สอบถามเพิ่มเติมได้ 24ชม. ทุกวันค่ะ
☎️ 082-790-1447 (คุณจิน)
☎️ 082-790-1448 (คุณสปัน)
☎️ 082-790-1449 (คุณปุ๊ก)
☎️ 091-9478-945 (คุณสปัน)
☎️ 091-8954-269 (คุณสปัน)
☎️ 091-8989-561 (คุณมาย)
📲 https://lin.ee/hum1ua2
🎥 https://lin.ee/gN4OMZe
📥 https://m.me/bhumisiam

 

🌎 Web:
bhumisiam.com
micro-pile.com
spun-micropile.com
microspunpile.com
bhumisiammicropile.com

1 2 3 4 5 6 7 16