บทความการตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile ไมโครไพล์ Micropile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ หรือเข็มไอ I-Micropile เสาเข็มเพื่อการต่อเติม เสริมฐานราก และงานสร้างใหม่ ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐาน ISO 9001:2015 ภายใต้การรับรองระบบงานของ UKAS และ NAC และมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม (The Provision of Pile Driving Service)

ต่อเติมหรือสร้างใหม่ ทำไมต้องเพิ่มรากฐานด้วย เสาเข็มสปันไมโครไพล์?

posted in: Uncategorized

ตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (SPUNMICROPILE) แนะนำใช้ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ รองรับน้ำหนักที่มากขึ้น เสาเข็ม ไมโครไพล์ ได้มาตรฐาน โดย ภูมิสยามฯไมโครไพล์ ไมโครไพล์ ไมโครไพล์

ต้องการตอกเสาเข็มไมโครไพล์ หรือ สปันไมโครไพล์  ภูมิสยามพร้อมบริการครับ เสาเข็มไมโครไพล์ที่แข็งแกร่งสูง และตอบโจทย์การก่อสร้างในพื้นที่จำกัด วิศวกรแนะนำให้ใช้ เสาเข็มสปันไมโครไพล์แท้ มาตรฐาน มอก. 397-2524 และ การตอกเสาเข็มไมโครไพล์ มีมาตรฐาน ISO 9001 และ ISO 45001:2018 โดย SGS

 

ตอกเสาเข็ม ฐานป้ายจราจร ฐานเสาสัญญาน หรือโครงสร้างทุกชนิดเพื่อป้องกันการทรุด เสาเข็มภูมิสยามฯ ตอบโจทย์ครับ ถ้าเป็นโครงสร้างเบาแนะนำสปันไมโครไพล์ แบบสี่เหลี่ยม S18x18 cm. หรือ 22 cm. แนวทแยง รับน้ำหนัก 15-20 ตัน/ต้น หรือขนาด ขนาด Dia 21 cm. ตัน/ต้น เพื่อการรับน้ำหนักที่มากขึ้นครับ

สปันไมโครไพล์แท้ภูมิสยาม พร้อมบริการทุกการก่อสร้างเสาเข็มเรามีหลายขนาด เริ่มตั้งแต่เหมาะสำหรับโครงสร้างชั้นเดียว รับน้ำหนัก 15 ตัน/ต้น จนถึงการรับน้ำหนักมากถึง 50 ตัน/ต้น (การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่)

สปันไมโครไพล์แท้:

  1. แบบสี่เหลี่ยม S18x18 cm. หรือ 22 cm.
    แนวทแยง รับน้ำหนัก 15-20 ตัน/ต้น
  2. แบบกลม Dia 21 cm.
    รับน้ำหนัก 20-25 ตัน/ต้น
  3. แบบกลม Dia 25 cm.
    รับน้ำหนัก 25-35 ตัน/ต้น
  4. แบบกลม Dia 30 cm.
    รับน้ำหนัก 30-50 ตัน/ต้น

ภาพตัวอย่างการตอกเสาเข็ม https://bit.ly/2xc1MFJ

ขอแนะนำเสาเข็มมาตรฐาน มอก. 397-2524 โดยภูมิสยาม ซึ่งได้ ISO 9001:2015 ทั้งกระบวนการตอกและการผลิต พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ ตาม ตย. วีดีโอ https://youtu.be/iJr3dLtYAuA หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 15-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดิน แต่ละพื้นที่ ทดสอบโดย Dynamic Load Test เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

 

Bhumisiam ภูมิสยาม
ผู้ผลิตรายแรก Spun MicroPile
1) ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐาน ISO 9001:2015
2) ได้รับมาตรฐาน ISO 9001:2015 UKAS ภายใต้การดูแลของ อังกฤษ
3) ได้รับมาตรฐาน ISO 9001:2015 NAC ภายใต้การดูแลของ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
4) ได้รับมาตรฐาน มอก. 397-2524 เสาเข็ม Spun MicroPile Dia 21, 25, 30 cm.
5) ผู้ผลิต Spun MicroPile ที่ได้รับ Endorsed Brand รับรองคุณภาพมาตรฐานจาก SCG
6) ผู้นำระบบ Computer ที่ทันสมัยผลิต เสาเข็ม Spun MicroPile
7) ลิขสิทธิ์เสาเข็ม Spun MicroPile
8) เทคโนโลยีการผลิต จากประเทศเยอรมัน
9) ผู้ผลิต Spun MicroPile แบบ “สี่เหลี่ยม”
10) การผลิตคอนกรีตและส่วนผสม ใช้ Program SCG-CPAC

เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ช่วยแก้ปัญหาได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
Mr.Micropile

สนใจติดต่อสินค้า เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. โทร
081-634-6586
082-790-1447
082-790-1448
082-790-1449☎☎☎☎

#ไมโครไพล์ #สปันไมโครไพล์ #เสาเข็มไมโครไพล์ #เสาเข็มสปันไมโครไพล์ #เสาเข็ม #ตอกเสาเข็ม #micropile #spunmicropile #microspunpile #spunpile #microspun #ตอกเสาเข็มไมโครไพล์

 

“ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” ลักษณะของค่าโมเมนต์ดัดที่เหมาะสมที่จะนำมาใช้ในการออกแบบโครงสร้างคานรูปตัวที

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน

กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ

เนื่องจากเมื่อในสัปดาห์ก่อนหน้านี้ที่ผมได้โพสต์เกี่ยวกับเรื่อง การทำรายละเอียดของงานวิศวกรรมโครงสร้าง คสล ให้แก่ช่างที่ทำงานที่หน้างานในทำนองที่ว่า หน้าที่ของผู้ออกแบบที่ดีคือ ต้องคิดและคำนึงถึงอยู่เสมอว่าคนทำงานเค้าจะมีความเข้าใจถึงรายละเอียดต่างๆ ที่ผู้ออกแบบอย่างเราๆ นั้นได้ทำการคิดและทำการออกแบบไว้มากหรือน้อยเพียงใดในทุกๆ งานออกแบบ ไม่ว่างานนั้นจะเป็นงานเล็กหรืองานใหญ่เพียงใดก็ตาม โดยที่รูปที่ผมได้ใช้ในการโพสต์นั้นเป็นรูปของโครงสร้างคาน คสล ที่มีโครงสร้างพื้น คสล ติดตั้งอยู่ที่ด้านข้าง ซึ่งอาจจะทำให้แลดูแล้วมีความละม้ายคล้ายคลึงกับโครงสร้างคานรูปตัวทีหรือว่า REINFORCED CONCRETE T-BEAM ซึ่งก็ได้มีแฟนเพจท่านหนึ่งได้คอมเมนต์สอบถามผมเข้ามาในทำนองว่า หากเราจะทำการออกแบบโครงสร้างที่ผมแสดงนั้นโดยใช้หลักการของโครงสร้างคาน คสล รูปตัวทีจะดีกว่าหรือไม่?


ซึ่งผมก็ได้ตอบแฟนเพจท่านนี้ไปว่า การที่เพื่อนท่านนี้กล่าวเช่นนี้แสดงว่าเค้าอาจจะยังไม่เข้าใจหลักการของการออกแบบโครงสร้างคาน คสล รูปตัวทีอย่างแท้จริงแต่ไม่เป็นไร วันนี้ผมจะขออนุญาตใช้พื้นที่ตรงนี้ในการอธิบายว่าเพราะเหตุใดผมจึงกล่าวเช่นนั้นนะครับ

หากเพื่อนๆ ดูจากในรูปจะเห็นได้ว่า ปริมาณของเหล็กเสริมในแนวนอน ซึ่งก็คือเหล็กเสริมหลักในโครงสร้างคาน คสล นี้จะมีอยู่ด้วยกันทั้งที่ผิวบนและก็ผิวล่าง ซึ่งเหล็กเสริมที่ผิวด้านบนนั้นจะมีปริมาณของเหล็กเสริมที่มากกว่าเหล็กเสริมที่ผิวด้านล่างค่อนข้างที่จะมากเลยนะครับ

นั่นแสดงถึงอะไรครับ?
ถูกต้องแล้ว นั่นแสดงให้เห็นว่า โครงสร้างคาน คสล ของผมนั้นจะต้องทำหน้าที่รับค่าโมเมนต์ดัด “แบบลบ” มากกว่าที่จะทำหน้าที่รับค่าโมเมนต์ดัด “แบบบวก” เนื่องด้วยค่าโมเมนต์ดัดแบบลบนั้นจะทำให้ที่ผิว “ด้านล่าง” นั้นเกิด “แรงเค้นอัด” ซึ่งคอนกรีตจะทำหน้าที่ในการต้านทานเป็นหลัก ส่วนที่ผิว “ด้านบน” นั้นจะเกิดเป็น “แรงเค้นดึง” ซึ่งเหล็กเสริมก็จะทำหน้าที่ในการต้านทานแรงดังกล่าวนี้เป็นหลัก ในขณะที่ค่าแรงโมเมนต์ดัดแบบบวกที่โครงสร้างคาน คสล นี้จะต้องรับนั้นไม่ใช่แรงหลัก ซึ่งจะเห็นได้จากปริมาณของเหล็กเสริมที่อยู่ด้านล่างจะมีปริมาณที่น้อยกว่าทางด้านบนค่อนข้างที่จะมากเลยน่ะครับ

ดังนั้นหากสถานการณ์นั้นออกมาตรงกันข้ามนั่นก็คือ โครงสร้างคาน คสล ของผมนั้นจะต้องทำหน้าที่รับค่าโมเมนต์ดัดแบบบวกมากกว่าที่จะทำหน้าที่รับค่าโมเมนต์ดัดแบบลบ เมื่อนั้นผมจึงจะเลือกทำการออกแบบโครงสร้างคาน คสล โดยใช้หลักการของโครงสร้างคาน คสล รูปตัวทีเนื่องด้วยการออกแบบดังกล่าวนั้นจะเป็นการออกแบบที่มีความคุ้มค่า มีความประหยัดและมีประสิทธิภาพสูงที่สุดเพราะนั่นเท่ากับว่า เราอาศัยวัสดุคอนกรีตที่ใช้ในการทำการก่อสร้างโครงสร้างพื้น คสล ที่อยู่ด้านบนในการมาช่วยรับแรงเค้นอัดที่เกิดขึ้นจากค่าโมเมนต์ดัดแบบบวกนั่นเองครับ

ผมหวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านในวันนี้จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ
#โพสต์ของวันพุธ
#ความรู้เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง
#ลักษณะของค่าโมเมนต์ดัดที่เหมาะสมที่จะนำมาใช้ในการออกแบบโครงสร้างคานรูปตัวที
ADMIN JAMES DEAN


Bhumisiam (ภูมิสยาม)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน ทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)


สอบถามเพิ่มเติมได้ 24ชม. ทุกวันค่ะ
☎️ 082-790-1447
☎️ 082-790-1448
☎️ 082-790-1449
☎️ 091-9478-945
☎️ 091-8954-269
☎️ 091-8989-561
📲 https://lin.ee/hum1ua2
📥 https://m.me/bhumisiam

วิศวกรรมการคำนวณ – การออกแบบการสั่น อันเนื่องมาจากเครื่องจักร ครั้งที่2

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน

ตามที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ เอาไว้เมื่อสัปดาห์ก่อนว่าในวันนี้ผมจะขออนุญาตนำเอาเรื่องราวรายละเอียดต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องการออกแบบการสั่นอันเนื่องมาจากเครื่องจักรเอามามาพูดถึงและอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ให้มีความรู้และความเข้าใจที่มากยิ่งขึ้นและหากจะว่ากันด้วยเรื่องรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกันกับเรื่องๆ นี้แล้วเนื้อหาทั้งหมดของมันนั้นมีอยู่ด้วยกันค่อนข้างที่จะเยอะมากเลยทีเดียว ดังนั้นเพื่อให้การโพสต์ตลอดก่อนที่จะถึงช่วงปีใหม่นั้นมีความกระชับและได้ประโยชน์สูงสุดผมจึงจะขออนุญาตเลือกหัวข้อที่มีความสำคัญมาก 2 ประเด็นมาพูดถึงนั่นก็คือ
1. รูปแบบของการสั่นสะเทือนและวิธีในการทำการตรวจวัดการสั่นสะเทือนของเครื่องจักร
2. รูปแบบและวิธีแก้ไขการสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากเครื่องจักร


เมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้พูดถึงหัวข้อที่ 1 เรื่องรูปแบบของการสั่นสะเทือนและวิธีในการทำการตรวจวัดการสั่นสะเทือนของเครื่องจักร และในสัปดาห์นี้ซึ่งก็คือวันศุกร์ที่ 25 ก็จะถือได้ว่าเป็นวันศุกร์สุดท้ายของปี พ.ศ. 2563 ด้วย ดังนั้นในวันนี้เราจะมาพูดถึงหัวข้อที่ 2 นั่นก็คือ รูปแบบและวิธีแก้ไขการสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากเครื่องจักร ซึ่งก็จะเป็นการโพสต์จากลาปี พ.ศ. นี้ไปพร้อมๆ กันเพราะในวันศุกร์หน้าก็จะเป็นวันขึ้นปีใหม่แล้วนั่นก็คือวันที่ 1 มกรคาม พ.ศ. 2564 เราจะได้ขึ้นหัวข้อใหม่ๆ กันบ้างน่ะครับ
หากจะทำการอธิบายเกี่ยวกับเรื่องรูปแบบและวิธีแก้ไขการสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากเครื่องจักรเราก็คงจะต้องเริ่มต้นจากค่าที่เราสนใจที่จะได้จากการตรวจวัดก่อน ซึ่งหากเป็นเพื่อนๆ ที่เป็นแฟนเพจขาประจำของคลิปในทุกๆ วันศุกร์ก็น่าที่จะทราบดีอยู่แล้วว่าจะมีทั้งหมด 3 ค่าหลัก ได้แก่
1. ค่าการเสียรูป หรือ DISPLACEMENT จะมีหน่วยเป็น ระยะทาง
2. ค่าความเร็ว หรือ VELOCITY จะมีหน่วยเป็น ระยะทางส่วนด้วยเวลา
3. ค่าความเร่ง หรือ ACCELERATION จะมีหน่วยเป็น ระยะทางส่วนด้วยเวลายกกำลังสอง

สำหรับรายละเอียดต่างๆ ของค่าทั้งสามนั้น เอาไว้ในการโพสต์ครั้งต่อๆ ไปผมจะขออนุญาตมาลงรายละเอียดเพิ่มเติมให้ก็แล้วกันเนาะ ทีนี้พอเราทำการตรวจวัดค่าข้างต้นได้แล้วเราก็จะนำเอาค่าต่างๆ เหล่านี้ไปใช้ในการออกแบบหรือใช้ในการหาวิธีแก้ไขการสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากเครื่องจักรต่อไป ซึ่งเราก็คงต้องมาเริ่มต้นทำความรู้จักกันกับรูปแบบของการทำงานของเครื่องจักรเสียก่อนว่าโดยส่วนใหญ่นั้นเครื่องจักรจะก่อให้เกิดการสั่นไหวใน 2 รูปแบบหลักๆ ซึ่งจะได้แก่
1. ค่าสั่นแบบเกิดการบิดตัว หรือ TORSIONAL VIBRATIO
2. การสั่นแบบเกิดการดัดตัว หรือ BENDING VIBRATION

โดยที่การสั่นทั้งสองรูปแบบข้างต้นนั้นมีโอกาสที่จะเกิดขึ้นได้ทั้งในแนวดิ่งและในแนวนอนแยกส่วนกันหรือพร้อมๆ กันก็มีความเป็นไปได้ ซึ่งผลจากการสั่นสะเทือนดังกล่าวนี้นอกจากจะนำมาซึ่งเสียงดังรบกวนและอาจจะก่อให้เกิดความน่ารำคาญในการใช้งานตัวเครื่องจักรแล้ว ผลอีกอย่างหนึ่งที่เราอาจจะไม่ทราบและแน่นอนว่าไม่อยากที่จะให้เกิดขึ้นในชิ้นส่วนของเครื่องจักรด้วยก็คือ พฤติกรรมของความล้า หรือ FATIGUE BEHAVIOR ซึ่งหากขาดการบำรุงรักษาหรือปล่อยเอาไว้นานๆ โดยที่ไม่ทำการแก้ไขพฤติกรรมดังกล่าว ก็อาจจะนำมาซึ่งการชำรุดและเสียหายของชิ้นส่วนที่มีความสำคัญในการทำงานของตัวเครื่องจักรเลยก็ได้นะครับ

เอาละ สำหรับวิธีแก้ไขการสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากเครื่องจักรกันบ้าง ซึ่งก็ต้องทำการเริ่มต้นจากกรณีของการสั่นกรณีแรกกันก่อนนั่นก็คือ เครื่องจักรนั้นมีค่าสั่นเป็นแบบเกิดการบิดตัว เราก็อาจจะเลือกใช้งาน PASSIVE VIBRATION ABSORBER ในการแก้ปัญหาก็ได้เพราะว่าเจ้าอุปกรณ์ตัวนี้ถูกออกแบบมาให้ทำหน้าที่ในการแก้ไขปัญหาในการสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นภายในเครื่องจักรที่เกิดการบิดตัวโดยตรง ซึ่งอุปกรณ์ตัวนี้ก็จะถูกติดตั้งเข้ากับตัวอุปกรณ์หลักและจะส่งผลทำให้เจ้าอุปกรณ์ตัวนี้เกิดการสั่นสะเทือนแทนและในที่สุดก็จะทำให้อุปกรณ์หลักนั้นมีการสั่นสะเทือนที่ลดน้อยลงไปหรือหยุดการสั่นสะเทือนได้ในที่สุด ต่อมาสำหรับกรณีของการสั่นกรณีที่สองนั่นก็คือ เครื่องจักรนั้นมีค่าสั่นเป็นแบบเกิดการดัดตัว เราก็อาจจะเลือกใช้งาน DYNAMIC ABSORBER SYSTEM ในการแก้ปัญหาก็ได้เพราะว่าเจ้าอุปกรณ์ตัวนี้ได้ถูกออกแบบมาให้ทำหน้าที่ในการแก้ไขปัญหาในการสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นภายในเครื่องจักรที่เกิดการดัดตัวโดยตรงเลย ซึ่งเจ้าอุปกรณ์ชนิดนี้จะมีความพิเศษตรงที่สามารถที่จะทำหน้าที่ในการลดการสั่นสะเทือนได้ทั้งในแบบดัดตัวและในแบบบิดตัวด้วยเพราะภายในของเจ้าอุปกรณ์ชนิดนี้จะประกอบด้วยสปริงจำนวน 2 ส่วน โดยที่สปริงส่วนแรกนั้นจะทำหน้าที่ในการรับมือกับการสั่นสะเทือนในแนวของการดัดตัวซึ่งเราจะมีชื่อเรียกของสปริงตัวนี้ว่าเป็น สปริงขด หรือ COIL SPRING ซึ่งก็จะมีอยู่ด้วยกันจำนวน 2 อันที่ทำขึ้นจากวัสดุประเภทเหล็กกล้า ส่วนสปริงชุดที่สองนั้นก็จะทำหน้าที่ในการรับมือกับการสั่นสะเทือนในแนวของการบิดตัว ซึ่งจะมีลักษณะเป็นรูปทรงหน้าตัดสี่เหลี่ยมที่ทำขึ้นจากวัสดุประเภทอะลูมิเนียมน่ะครับ

โดยผมจะต้องขออนุญาตออกตัวเอาไว้ก่อนเลยว่า สำหรับวิธีในการที่จะถูกนำเอามาใช้ในการแก้ไขการสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากเครื่องจักรจริงๆ นั้นควรที่จะต้องดูให้มีความเหมาะสมกับรูปแบบของการทำงานของเครื่องจักรเป็นหลักเลย ซึ่งก็อาจจะมีอยู่ด้วยกันมากมายหลากหลายวิธีการ ซึ่งวิธีการทั้งสองที่ผมได้นำเอามาหยิบยกเป็นตัวอย่างในวันนี้จึงเป็นเพียงแค่วิธีการที่ได้รับความนิยมใช้กันค่อนข้างแพร่หลายตามท้องตลาดในปัจจุบันเท่านั้นและหากบังเอิญว่าเพื่อนๆ ท่านใดที่อาศัยวิธีการอื่นๆ อยู่ ก็อาจจะนำเอาวิธีการเหล่านั้นมาแชร์เป็นความรู้ให้แก่เพื่อนๆ ทุกคนในเพจของเราในใต้โพสต์ๆ นี้ก็ได้นะครับ

ซึ่งผมก็คาดหวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านในวันนี้จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ
#โพสต์ของวันศุกร์
#ความรู้เรื่องวิศวกรรมการคำนวณ
#การวิเคราะห์โครงสร้างเชิงพลศาสตร์
#สรุปขั้นตอนที่มีความสำคัญของการออกแบบการสั่นอันเนื่องมาจากเครื่องจักร
#ครั้งที่2
ADMIN JAMES DEAN


บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปัน ไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service) Certified by SGS (Thailand) Ltd.

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 15-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดิน แต่ละพื้นที่ ทดสอบโดย Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)

☎ สายด่วนภูมิสยาม:
082-790-1447
082-790-1448
082-790-1449
091-947-8945
081-634-6586

🌎 Web:
bhumisiam.com
micro-pile.com
spun-micropile.com
microspunpile.com
bhumisiammicropile.com

หน้างานขนาดใหญ่ เป็นบ่อโคลน ตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I-Micropile 

หน้างานขนาดใหญ่ เป็นบ่อโคลน ตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I-Micropile

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ และ ไอไมโครไพล์ เสาเข็มขนาดเล็กที่มีความมั่นคงแข็งแรงสูง มีคุณภาพสูง

ไม่ว่าจะหน้างานแบบไหน ไว้ใจเสาเข็มของภูมิสยาม เสาเข็มสามารถเชื่อมต่อแต่ละท่อนได้โดยการเชื่อมด้วยไฟฟ้า และใชั้ปั้นจั่นแบบพิเศษในการตอก ทำให้สามารถตอกต่อกันได้ลึกถึงชั้นดินทรายแข็ง สามารถรองรับน้ำหนักได้อย่างปลอดภัย ทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load Test เสาเข็มของภูมิสยามได้รับ มาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549
ได้รับอนุญาตแสดงเครื่องหมายมาตรฐาน การออกแบบการผลิตและตอก ISO 9001:2015 และอาชีวอนามัยด้านความปลอดภัยในการตอก ISO 45001:2018

สร้างใหม่ หน้างานขนาดใหญ่ ปรึกษาภูมิสยาม เรายินดีให้คำปรึกษา และพร้อมบริการทั่วประเทศ


Miss Spunpile 

Bhumisiam (ภูมิสยาม)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service) Certified by SGS (Thailand) Ltd.

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 15-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดิน แต่ละพื้นที่ ทดสอบโดย Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)


สอบถามเพิ่มเติมได้ 24ชม. ทุกวันค่ะ
☎️ 082-790-1447 (คุณจิน)
☎️ 082-790-1448 (คุณสปัน)
☎️ 082-790-1449 (คุณปุ๊ก)
☎️ 091-9478-945 (คุณสปัน)
☎️ 091-8954-269 (คุณสปัน)
☎️ 091-8989-561 (คุณมาย)
📲 https://lin.ee/hum1ua2
🎥 https://lin.ee/gN4OMZe
📥 https://m.me/bhumisiam

 

🌎 Web:
bhumisiam.com
micro-pile.com
spun-micropile.com
microspunpile.com
bhumisiammicropile.com

โครงสร้างภายในของเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile

โครงสร้างภายในของเสาเข็มเพื่อการต่อเติม สปันไมโครไพล์ (SPUN MICRO PILE)

ลักษณะของเสาเข็มเพื่อการต่อเติม Spun Micro Pile มีลักษณะกลม กลวงจึงช่วยลดการสั่นสะเทือนเวลาตอก ถึงแม้ว่าจะตอกเสาเข็มใช้ความยาวมาก ก็สามารถลดแรงดันของดินในขณะตอกได้ โดยดินจะขึ้นทางรูกลวงของเสาเข็ม ซึ่งจะช่วยลดความกระทบกระเทือนที่มีต่อโครงสร้าง หรืออาคารข้างเคียงได้เป็นอย่างมาก

ซึ่งเสาเข็มสปันไมโครไพล์ของ บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด นั้นจะมีโครงสร้างภายในเหล็กปลอกรัดหัวเสาเข็มหัวท้ายเหล็ก FB หนา 6 มิลลิเมตร ความหนาของคอนกรีตจะอยู่ในช่วง 6-8 เซนติเมตร ดูรายละเอียดเพิ่มเติมจากรูปข้างล่าง

โครงสร้างของเสาเข็ม Spun micro pile เป็นเหล็ก 9 มิลลิเมตร เพื่อสำหรับทำเป็นเหล็ก Dowel และพันรอบโครงเหล็กแกนหลักตั้งแต่ต้นเสาเข็มจนถึงปลาย ด้วยเหล็ก 6 มิลลิเมตร

เหล็กปลอกรัดรอบหัวเข็ม เป็นเหล็กแบนหนา 6 มิลลิเมตร และ เสาเข็มแต่ละท่อนจะมีความยาว 1.5 เมตร ซึ่งความยาวนี้สามารถเพิ่มได้โดยการนำเสาเข็มมาเชื่อมต่อกัน

Bhumisiam (ภูมิสยาม)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service) Certified by SGS (Thailand) Ltd.บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 15-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดิน แต่ละพื้นที่ ทดสอบโดย Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติมรายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)

ต้องการตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์
ปรึกษาทีมงานได้ที่

LINE น้องสปัน
http://line.me/ti/p/~bsp15

LINE น้องจินนี่
http://line.me/ti/p/~0827901447

LINE@BHUMISIAM
https://line.me/R/ti/p/%40bhumisiam

☎ สายด่วนภูมิสยาม:
082-790-1447
082-790-1448
082-790-1449
091-947-8945
081-634-6586

🌎 Web:
bhumisiam.com
micro-pile.com
spun-micropile.com
microspunpile.com
bhumisiammicropile.com

การนำเอาค่าตัวคูณเพื่อหาความยาวประสิทธิผล และค่าแรงอัดวิกฤติของออยเลอร์ ไปใช้ในการทำงานออกแบบวิศวกรรมโครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน

กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ

จริงๆ แล้วในวันนี้ผมอยากที่จะขึ้นหัวข้อใหม่แล้วแต่คิดไปคิดมาผมเลยอยากจะขอจบการอธิบายเกี่ยวกับเรื่องของ ค่าตัวคูณเพื่อหาความยาวประสิทธิผล หรือค่า K และ ค่าแรงอัดวิกฤติของออยเลอร์ หรือ EULER’S CRITICAL COMPRESSION LOAD หรือ ที่พวกเรานิยมเรียกชื่อนี้ว่า Pcr ด้วยการหยิบยกนำเอากรณีของการนำเอาค่าๆ นี้ไปประยุกต์ใช้ในงานออกแบบทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างจริงๆ ซึ่งโพสต์นี้ก็น่าที่จะเป็นโพสต์สุดท้ายที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องๆ นี้แล้วเพราะหลังจากนี้ผมจะได้นำเอาเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องอื่นๆ มาอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ต่อในโอกาสต่อๆ ไปนะครับ

อย่างที่ผมได้เรียนกับเพื่อนๆ ไปก่อนหน้านี้แล้วว่า เรื่องสมการค่าแรงอัดวิกฤติของออยเลอร์นี้เป็นเรื่องหนึ่งที่มีความสำคัญมากเกี่ยวกับวิชากลศาสตร์ของวัสดุหรือ MECHANICS OF MATERIALS ซึ่งสุดท้ายแล้วเราก็จะต้องนำเอาพื้นฐานของเรื่องๆ นี้ไปต่อยอดในวิชาออกแบบต่างๆ อีกมากมายเลย เช่น การออกแบบโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก หรือ STRUCTURAL CONCRETE DESIGN การออกแบบโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ หรือ STRUCTURAL STEEL DESIGN การออกแบบโครงสร้างไม้ หรือ STRUCTURAL TIMBER DESIGN เป็นต้นนะครับ

ซึ่งจะเห็นได้จากรูปที่ 1 ที่ผมได้นำเอามาฝากเพื่อนๆ ในวันนี้ก็จะเป็นขั้นตอนหนึ่งของการพิจารณาคำนวณหาค่า MAGNIFICATION FACTOR ในการออกแบบโครงสร้างเสา คสล ที่ต้องทำหน้าที่รับแรงอัด โดยจะเห็นว่าถึงแม้โครงสร้างเสา คสล ของเรานั้นจะไม่ได้ทำหน้าที่ในการรับ แรงโมเมนต์ดัด หรือ FLEXURAL FORCE ใดๆ เลยก็ตาม กล่าวคือต่อให้เป็นกรณีที่โครงสร้างเสา คสล ของเรานั้นทำหน้าที่ในการรับเฉพาะเพียงแค่รับแรงกระทำตามแนวแกนเพียงอย่างเดียวเท่านั้นแต่หากว่าโครงสร้างเสา คสล ของเรานั้นมีความชะลูดที่มากๆ นั่นก็จะส่งผลทำให้โครงสร้างเสา คสล ของเรานั้นต้องทำหน้าที่ในการรับแรงโมเมนต์ดัดที่เพิ่มเติมขึ้นมาอันเนื่องมาจากแรงกระทำตามแนวแกนดังกล่าวซึ่งค่าๆ นี้พวกเราเหล่าวิศวกรโครงสร้างจะมีชื่อเรียกกันว่า SECOND ORDER MOMENT ซึ่งหนึ่งในขั้นตอนของการคำนวณหาค่า MAGNIFICATION FACTOR นี้ก็คือ เราจะต้องทำการคำนวณหาว่า ค่าแรงอัดวิกฤติของออยเลอร์ของโครงสร้างเสา คสล ต้นนี้นั้นมีค่าเท่ากับเท่าใด ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะทราบได้ว่าสุดท้ายแล้วโครงสร้างเสา คสล ของเรานั้นจะต้องทำหน้าที่ในการรับโมเมนต์ดัดมากที่สุดจริงๆ เท่ากับเท่าใดภายหลังจากที่เราได้ทำการพิจารณาผลของ P-Δ เรียบร้อยแล้วน่ะครับ

หากมาดูในรูปที่ 2 บ้าง อันนี้เพื่อนๆ คงจะเคยเห็นกันไปบ้างแล้วเพราะผมเคยหยิบยกเอามาพูดถึงในโพสต์ที่สองเกี่ยวกับเรื่องๆ นี้ซึ่งเป็นรูปที่แสดงขั้นตอนของการออกแบบโครงสร้างเสาเหล็กรูปพรรณ ซึ่งเพื่อนๆ ก็จะเห็นได้ว่า ค่าตัวคูณเพื่อหาความยาวประสิทธิผล นั้นจะมีผลโดยตรงต่อ ค่าแรงอัดวิกฤติของออยเลอร์ ซึ่งหากเราดูรูปแผนภูมิที่แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่าง ค่าอัตราส่วนความชะลูด หรือ SLENDERNESS RATIO ที่อยู่ในแกน X กับ ค่าของแรงเค้นของชิ้นส่วนโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ ที่อยู่ในแกน Y ซึ่งก็จะเห็นได้ว่าจะมีขีดจำกัดๆ หนึ่งที่จะเป็นเส้นที่แบ่งระหว่างการที่ค่าของแรงเค้นของชิ้นส่วนโครงสร้างเหล็กรูปพรรณนั้นจะมีค่าที่คงที่ ซึ่งในกรณีของรูปๆ นี้ก็คือที่ค่าอัตราส่วนความชะลูดเท่ากับ 89 หลังจากนั้นค่าของแรงเค้นก็จะค่อยๆ ลดลงไปๆ โดยที่จะเป็นการลดลง โดยที่ค่าความชันนั้นมีค่าที่ค่อนข้างน้อยแต่หากว่าโครงสร้างของเรานั้นยังคงมีค่าความชะลูดที่เพิ่มสูงขึ้นๆ เรื่อยๆ จนไปแตะที่ค่าๆ หนึ่ง ซึ่งในกรณีของรูปๆ นี้ก็คือที่ค่าอัตราส่วนความชะลูดเท่ากับ 126.1 โดยหากเมื่อใดที่ค่าอัตราส่วนความชะลูดนั้นมีค่าที่สูงกว่าค่าๆ นี้แล้ว ค่าของแรงเค้นของชิ้นส่วนโครงสร้างเหล็กรูปพรรณนั้นก็จะมีค่าที่ลดลงไปเป็นอย่างมาก โดยที่จะเป็นการลดลงโดยที่ค่าความชันนั้นมีค่าที่ค่อนข้างมาก ดังนั้นเมื่อใดก็ตามที่ค่าอัตราส่วนความชะลูดนั้นมีค่ามากกว่า 89 ก็จะส่งผลทำให้ค่าทั้งสองนี้มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันเป็นแบบไม่เชิงเส้น สรุปง่ายๆ ก็คือ ยิ่งอัตราส่วนความชะลูดนั้นมีค่ามากเท่าใด ค่าของแรงเค้นของชิ้นส่วนโครงสร้างเหล็กรูปพรรณนั้นก็จะมีค่าที่น้อยลงไปมากเท่านั้นนั่นเองครับ

ผมคาดหวังเอาไว้ว่า หากในอนาคตผมจะทำการพูดถึงเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องๆ นี้ในโพสต์อื่นๆ อีก ผมมีความคิดว่าเพื่อนๆ น่าที่จะพอมีความคุ้นเคย มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องๆ นี้ในระดับหนึ่งกันแล้วนะครับ

หวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านจากคำถามในวันนี้น่าที่จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ
#โพสต์ของวันจันทร์
#ความรู้ที่มีประโยชน์เพื่อคุณผู้หญิง
#การนำเอาค่าตัวคูณเพื่อหาความยาวประสิทธิผลและค่าแรงอัดวิกฤติของออยเลอร์ไปใช้ในการทำงานออกแบบวิศวกรรมโครงสร้าง
ADMIN JAMES DEAN


Bhumisiam (ภูมิสยาม)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน ทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)


สอบถามเพิ่มเติมได้ 24ชม. ทุกวันค่ะ
☎️ 082-790-1447
☎️ 082-790-1448
☎️ 082-790-1449
☎️ 091-9478-945
☎️ 091-8954-269
☎️ 091-8989-561
📲 https://lin.ee/hum1ua2
📥 https://m.me/bhumisiam

การแก้ไขฐานราก เมื่อจุดรองรับนั้น เป็นจุดรองรับแบบยึดแน่น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน

กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ
โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ


ที่หน้างานได้มีการตอกเสาเข็มซึ่งจะถูกใช้ในโครงสร้างฐานราก F3 ผลจากการตอกเสาเข็มต้นแรกพบว่าไม่เป็นไปตาม BLOW COUNT ที่ทางผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดเอาไว้ ทางหน้างานจึงสันนิษฐานว่าเสาเข้มต้นนี้เกิดการหักและได้ทำการแจ้งกลับไปยังผู้ออกแบบเพื่อให้รับทราบและขอให้ช่วยดำเนินการออกแบบแก้ไขฐานรากต้นนี้ โดยผมจะขอสมมติให้เพื่อนๆ นั้นเป็นผู้ออกแบบในโครงการก่อสร้างแห่งนี้ก็แล้วกัน ซึ่งตอนที่เพื่อนๆ นั้นได้ทำการจำลองโครงสร้างฐานรากต้นนี้เพื่อนๆ ได้ทำการกำหนดให้โครงสร้างฐานรากต้นนี้มีสภาพเป็น จุดรองรับแบบยึดแน่น หรือ FIXED SUPPORT คำถามก็คือ ในฐานะของผู้ออกแบบเพื่อนๆ จะเลือกทำการออกแบบแก้ไขฐานรากต้นนี้อย่างไรดี ?

ทั้งนี้เพื่อนๆ ยังสามารถที่จะให้เหตุผลต่างๆ หรือ อาจจะทำการสเก็ตช์ภาพประกอบคำตอบเพื่อใช้อธิบายเพิ่มเติมได้ แล้วยังไงวันพรุ่งนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการเฉลยคำถามข้อนี้ให้แก่เพื่อนๆ ทุกคนได้รับทราบพร้อมๆ กันนะครับ
หวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านจากคำถามในวันนี้น่าที่จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ

#ถามตอบชวนสนุก
#ปัญหาการแก้ไขฐานรากเมื่อจุดรองรับนั้นเป็นจุดรองรับแบบยึดแน่น
ADMIN JAMES DEAN


คำตอบ

เป็นอย่างไรกันบ้างเอ่ย หากเพื่อนๆ ได้มีโอกาสย้อนกลับไปอ่านโพสต์ของผมเมื่อวันพฤหัสบดีที่ผ่านมาก็จะเห็นได้ว่าคำถามข้อนี้นั้นง่ายมากๆ เลยใช่มั้ย ดังนั้นเรามาช่วยกันวิเคราะห์หาคำตอบว่าในฐานะของผู้ออกแบบเราจะเลือกทำการออกแบบแก้ไขฐานรากต้นนี้อย่างไรกันดีไปพร้อมๆ กัน ซึ่งผมก็ต้องขออนุญาตออกตัวไว้ก่อนเลยว่า สำหรับการแก้ปัญหาฐานรากแบบนี้เป็นเรื่องแน่นอนว่า ย่อมที่จะมีวิธีการแก้ไขมากกว่าหนึ่งวิธีการอย่างแน่นอน ดังนั้นสำหรับเพื่อนๆ ที่อาจจะตอบวิธีการอื่นๆ มาก็ไม่ได้หมายความว่าวิธีการนั้นผิดหรือใช้ไม่ได้ ซึ่งวิธีการที่ผมได้นำเอามาใช้ในการเฉลยคำถามในวันนี้จึงเป็นเพียงวิธีการแก้ไขวิธีการหนึ่งเพียงเท่านั้นนะครับ


เหมือนกันกับปัญหาเมื่อสัปดาห์ที่แล้วซึ่งผมได้แจ้งกับเพื่อนๆ ไปว่า สิ่งสำคัญประการแรกที่เราควรที่จะต้องทำการพิจารณาก็คือ คุณลักษณะของจุดรองรับที่เราได้ใช้ในการทำการจำลองโครงสร้างฐานรากต้นนี้ในครั้งแรก หรือ BOUNDARY CONDITIONS ซึ่งเพื่อให้เป็นการดีและเกิดความง่ายดายมากที่สุดเราจึงควรที่จะคงไว้ซึ่งคุณลักษณะดังกล่าว สำหรับกรณีนี้จุดรองรับนี้มีสภาพเป็น จุดรองรับแบบยึดแน่น ซึ่งลักษณะของจุดรองรับแบบนี้ก็จะมีแรงหลักๆ 3 แรงด้วยกันนั่นก็คือ แรงในแนวตั้งฉาก หรือ VERTICAL LOAD แรงในแนวราบ หรือ HORIZONTAL LOAD และ แรงคู่ควบ หรือ MOMENT FORCE ซึ่งลักษณะของแรงสุดท้ายนี้เองที่จะมีความต้องการระยะแขนของแรงที่เกิดขึ้นระหว่างโครงสร้างเสาเข็มเข้ามาช่วยในการรับน้ำหนักรอบๆ แกนของโครงสร้างฐานราก ดังนั้นวิธีการที่เพื่อนๆ อาจจะเลือกใช้งานก็คือ การทำให้โครงสร้างเสาเข็มนั้นมีระยะห่างที่เพิ่มมากยิ่งขึ้น ซึ่งเราก็จะเห็นได้ว่าการทำเช่นนี้จะเป็นการเพิ่มแขนของแรง ซึ่งก็จะส่งผลโดยตรงต่อการรับแรงของโครงสร้างฐานรากอันเนื่องมาจากแรงคู่ควบแต่ทั้งนี้เราก็ต้องไม่ลืมด้วยว่า พฤติกรรมที่ดีที่สุดซึ่งเราควรที่จะทำการกำหนดและออกแบบให้เสาเข็มนั้นมีก็คือ เราควรที่จะกระจายน้ำหนักที่ถูกถ่ายลงมาเพื่อให้เสาเข็มทุกๆ ต้นนั้นมีการรับน้ำหนักบรรทุกที่มีความใกล้เคียงกันให้มากที่สุด ดังนั้นการที่เราทำให้โครงสร้างเสาเข็มมีระยะห่างที่เพิ่มมากยิ่งขึ้นก็ต้องทำโดยการที่เรายังคงรักษาจุดศูนย์ถ่วงระหว่างโครงสร้างตอม่อและโครงสร้างเสาเข็มให้มีความตรงกันด้วยก็จะเป็นการดีที่สุด สุดท้ายเราก็ต้องไม่ลืมว่าเมื่อทำการขยายให้ฐานรากนั้นมีขนาดที่ใหญ่ขึ้นสิ่งที่เราในฐานะผู้ออกแบบนั้นควรที่จะต้องคำนึงถึงตามมาก็มีอยู่ไม่น้อยเช่นกัน เช่น ระยะความหนาของฐานรากว่ามีความเหมาะสมหรือไม่ ค่าความสามารถในการรับแรงเฉือนทะลุและแรงเฉือนแบบคานกว้างนั้นเพียงพอหรือไม่ เหล็กเสริมรับแรงดัดที่เคยเสริมในฐานรากเดิมนั้นจะมีปริมาณที่เพียงพอหรือไม่ เป็นต้นนะครับ

สรุปคำตอบสำหรับวิธีการที่เพื่อนๆ อาจจะเลือกใช้งานสำหรับการแก้ไขฐานรากเมื่อจุดรองรับนั้นเป็นจุดรองรับแบบยึดแน่นก็คือ การทำให้โครงสร้างเสาเข็มนั้นมีระยะห่างที่เพิ่มมากยิ่งขึ้นและจะต้องรักษาจุดศูนย์ถ่วงระหว่างโครงสร้างตอม่อและโครงสร้างเสาเข็มให้มีความตรงกันด้วย ทั้งนี้ก็ต้องไม่ลืมตรวจสอบด้วยว่าผลจากการที่เรานั้นทำการขยายฐานรากจะส่งผลต่อเรื่องพฤติกรรมต่างๆ ของโครงสร้างฐานรากไปในรูปแบบใดบ้างด้วยนั่นเองครับ

หวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านจากคำตอบในวันนี้น่าที่จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ

#ถามตอบชวนสนุก
#ตอบปัญหาการแก้ไขฐานรากเมื่อจุดรองรับนั้นเป็นจุดรองรับแบบยึดแน่น
ADMIN JAMES DEAN


บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปัน ไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service) Certified by SGS (Thailand) Ltd.

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 15-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดิน แต่ละพื้นที่ ทดสอบโดย Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)

☎ สายด่วนภูมิสยาม:
082-790-1447
082-790-1448
082-790-1449
091-947-8945
081-634-6586

🌎 Web:
bhumisiam.com
micro-pile.com
spun-micropile.com
microspunpile.com
bhumisiammicropile.com

ภูมิสยามฯ สมทบทุนสร้างสนามกีฬาต้านยาเสพติดให้กับ โรงเรียน — ข่าวสยามกีฬา

posted in: Social Responsibility

ภูมิสยามฯ สมทบทุนสร้างสนามกีฬาต้านยาเสพติ ให้กับโรงเรียน — ข่าวสยามกีฬา

นายรัฐโรจน์ ภูริหิรัญพิพัฒ (ที่ 4 จากซ้าย) กรรมการผู้จัดการบริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้ผลิตและจัดจำหน่ายเสาเข็มสปันไมโครไพล์ เทคโนโลยีการผลิตจากประเทศเยอรมั พร้อมด้วยครอบครัว สมทบทุนสร้างสนามกีฬาต้านยาเสพติ มูลค่ารวมกว่า 350,000 บาท เพื่อสนับสนุนให้เด็กนักเรียนเล่นกีฬา และทำกิจกรรมใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ไม่มั่วสุมเรื่องยาเสพติด ซึ่งถือเป็นโครงการตอบแทนสังคมที่ทำมาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งมีคณะครูโรงเรียนฯ ร่วมเป็นสักขีพยาน ณ โรงเรียนวัดธัญญะผล อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี

Bhumisiam (ภูมิสยาม)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service) Certified by SGS (Thailand) Ltd.บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 15-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดิน แต่ละพื้นที่ ทดสอบโดย Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติมรายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)ต้องการตอกเสาเข็ม
สปันไมโครไพล์

ปรึกษาทีมงานได้ที่

LINE น้องสปัน
http://line.me/ti/p/~bsp15

LINE น้องจินนี่
http://line.me/ti/p/~0827901447

LINE@BHUMISIAM
https://line.me/R/ti/p/%40bhumisiam

☎ สายด่วนภูมิสยาม:
082-790-1447
082-790-1448
082-790-1449
091-947-8945
081-634-6586

🌎 Web:
bhumisiam.com
micro-pile.com
spun-micropile.com
microspunpile.com
bhumisiammicropile.com

ขยายโรงงาน ต้องการเสาเข็มที่มีคุณภาพเพื่อป้องกันการทรุดตัวและได้มาตรฐาน!!

posted in: PILE DRIVING

ตอกเสาเข็มเพื่อสร้างใหม่ หรือขยายโรงงาน ต้องการเสาเข็มที่มีความมั่นคงสูงแะลรับน้ำหนักได้อย่างปลอดภัย แนะนำใช้เสาเข็ม Spun Micropile ที่ได้มาตรฐาน มอก.397-2562 โดยภูมิสยามค่ะ!!

ต่อเติมโรงงาน ขยายโรงงาน มั่นใจใช้เสาเข็ม สปันไมโครไพล์แท้โดยภูมิสยาม เสาเข็มสปัน มอก. 397-2562 เป็นเสาเข็มที่มีโครงเหล็กฝังอยู่ในเนื้อคอนกรีตโดยรอบ ผลิตโดยใช้กรรมวิธีการเหวี่ยงคอนกรีตในแบบหล่อทำให้มีความหนาแน่นและแข็งแกร่งกว่าคอนกรีตที่หล่อด้วยวิธีแบบธรรมดา สามารถรองรับน้ำหนักได้อย่างปลอดภัย ได้มาตรฐานตามหลักวิศวะกรรม ทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธีDynamic Load Test และยังได้รับการรับรองมาตรฐานการผลิตและตอก ISO 9001:2015 และชีวะอนามัยด้านความปลอดภัย ISO 45001:2018micro-pile micro-pile micro-pileภูมิสยามผู้ผลิตและจัดจำหน่าย เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile เจ้าแรกที่ได้รับมาตรฐาน มอก. 397-2562 (พัฒนาจาก มอก. เดิม 397-2524) และไอไมโครไพล์ I Micropile มาตรฐาน มอก. 396-2549 กระบวนการผลิตและการตอกได้มาตรฐาน ISO 9001:2015 และ ISO 45001:2018 เสาเข็มคุณภาพโดยภูมิสยาม ช่วยแก้ปัญหาการก่อสร้างต่อเติมหรือสร้างใหม่ สะดวกสะอาดรวดเร็วค่ะ เสาเข็มผลิตด้วยเทคโนโลยีจากประเทศเยอรมัน

✔️ เสาเข็มสปัน มอก. 397-2562
✔️ เสาเข็ม I มอก. 396-2549
✔️ รับประกัน 7 ปี! (เสาเข็มสปัน)
✔️ รับประกัน 3 ปี! (เสาเข็ม I)
✔️ ออกแบบฐานรากฟรี
✔️ รายการคำนวณฟรี
✔️ สำรวจหน้างานฟรี
✔️ การตอก ISO 9001:2015
✔️ การตอก ISO 45001:2018
✔️ SCG Endorsed Brand
✔️ สะสม Point แลกรับรางวัล
✔️ MICROPILE TRAINING CENTER ศูนย์ฝึกอบรมอาชีพ การตอกเสาเข็มไมโครไพล์
✔️ ประกันความเสียหายระหว่างตอกโดยกรุงเทพประกันภัย
*เงื่อนไขเป็นไปตามที่บริษัทกำหนด

☎️ สายด่วนภูมิสยาม:
082-790-1447
082-790-1448
082-790-1449
091-947-8945
091-895-4269

📲 ไลน์ภูมิสยาม:
1) LINE ID: bsp15
2) LINE ID: bsp829
3) LINE ID: 0827901447
4) LINE ID: 0827901448
5) LINE ID: 0918954269
LINE OA: @bhumisiam

🌎 เว็บไซต์:
www.micro-pile.com
www.spun-micropile.com
www.bhumisiammicropile.com
www.bhumisiam.com
www.microspunpile.com
🔘 Products

🔶 รายการเสาเข็มและการรับน้ำหนัก:
⬆️เสาเข็มไอ ไมโครไพล์
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
⏹เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
⏺เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น
*การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่

#เสาเข็ม
#ตอกเสาเข็ม
#ไมโครไพล์
#สปันไมโครไพล์
#เสาเข็มไมโครไพล์
#เสาเข็มสปันไมโครไพล์
#micropile
#spunmicropile
#piledriving
#microspun

วิศวกรรมการคำนวณ – การออกแบบการสั่น อันเนื่องมาจากเครื่องจักร ครั้งที่1

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน

ตามที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ เอาไว้เมื่อสัปดาห์ก่อนว่าในวันนี้ผมจะขออนุญาตนำเอาเรื่องราวรายละเอียดต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องการออกแบบการสั่นอันเนื่องมาจากเครื่องจักรเอามามาพูดถึงและอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ให้มีความรู้และความเข้าใจที่มากยิ่งขึ้นและหากจะว่ากันด้วยเรื่องรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกันกับเรื่องๆ นี้แล้วเนื้อหาทั้งหมดของมันนั้นมีอยู่ด้วยกันค่อนข้างที่จะเยอะมากเลยทีเดียว ดังนั้นเพื่อให้การโพสต์ตลอดก่อนที่จะถึงช่วงปีใหม่นั้นมีความกระชับและได้ประโยชน์สูงสุดผมจึงจะขออนุญาตเลือกหัวข้อที่มีความสำคัญมาก 2 ประเด็นมาพูดถึงนั่นก็คือ
1. รูปแบบของการสั่นสะเทือนและวิธีในการทำการตรวจวัดการสั่นสะเทือนของเครื่องจักร
2. รูปแบบและวิธีแก้ไขการสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากเครื่องจักร

ซึ่งในสัปดาห์นี้ก็คือวันศุกร์ที่ 18 และในสัปดาห์สุดท้ายก็คือวันศุกร์ที่ 25 ซึ่งก็จะถือได้ว่าเป็นวันศุกร์สุดท้ายของปี พ.ศ. 2563 แล้ว เราก็น่าที่จะสามารถจบหัวข้อๆ นี้ได้แบบพอดิบพอดีเลย ดังนั้นในวันนี้เราจะมาพูดถึงหัวข้อที่ 1 นั่นก็คือ รูปแบบของการสั่นสะเทือนและวิธีในการทำการตรวจวัดการสั่นสะเทือนของเครื่องจักร กันก่อนเลยก็แล้วกันนะครับ
จริงๆ แล้วหากเป็นเพื่อนๆ ที่เป็นแฟนเพจขาประจำของคลิปในทุกๆ วันศุกร์น่าที่จะพอเข้าใจได้ว่าหากเราพูดถึงรูปแบบของการสั่นนั้นจะมีอยู่ด้วยกันเพียงไม่กี่รูปแบบเท่านั้น สำหรับกรณีของเครื่องจักรก็เช่นเดียวกันเพียงแต่ก็แน่นอนว่าเครื่องจักรนั้นจะมีรูปแบบของการสั่นเพียงแค่ 3 รูปแบบหลักๆ นั่นก็คือ

รูปแบบที่ 1 การสั่นตัวในรูปแบบที่มีความอิสระ หรือ FREE VIBRATION MODE ซึ่งรูปแบบของการสั่นแบบนี้ก็จะมีทิศทางในการสั่นตามชื่อของมันเลยนั่นก็คือ เกิดการสั่นได้โดยอิสระเลย ซึ่งรูปแบบของการสั่นนั้นก็จะเกิดขึ้นตามทิศทางของแรงขับที่ออกมาจากแหล่งกำเนิดพลังงานของเครื่องจักรนั้นๆ ซึ่งจุดสังเกตง่ายๆ อย่างหนึ่งของรูปแบบของการสั่นแบบนี้ก็คือ ส่วนใหญ่แล้วเครื่องจักรที่จะเกิดการสั่นในรูปแบบๆ นี้ได้ประมาณร้อยละ 90 ก็มักจะเกิดจากการที่เครื่องจักรนั้นๆ มีการวางตัวอยู่บนฐานรากหรือจุดรองรับที่จะมีลักษณะเป็น แบบมีความยืดหยุ่น หรือ FLEXIBLE FOUNDATION นะครับ

รูปแบบที่ 2 การสั่นตัวในรูปแบบ ซ้อนทับ หรือ ขบทับกัน หรือ MESHING VIBRATION หรืออาจจะเรียกได้อีกในชื่อหนึ่งว่าเป็นแบบเคลื่อนที่ผ่าน หรือ PASSING VIBRATION ก็ได้ ซึ่งส่วนใหญ่แล้วรูปแบบของการสั่นของเครื่องจักรแบบนี้จะเกิดขึ้นเนื่องจาก การทำงานของเครื่องจักรที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องด้วยแรงขับ หรือ หมุนหรือเคลื่อนที่ผ่านอย่างต่อเนื่องกันเป็นระยะเวลาที่ค่อนข้างจะมีความยาวนานในระดับหนึ่ง เช่น รูปแบบการสั่นของเฟืองที่ขบกัน รูปแบบการสั่นของใบพัดในเครื่องจักรที่หมุนผ่านอย่างตลอดและต่อเนื่องและยาวนานมากๆ เป็นต้นนะครับ
รูปแบบสุดท้ายก็คือรูปแบบที่ 3 การสั่นตัวเนื่องมาจากแรงเสียดทาน หรือ FRICTIONAL VIBRATION ซึ่งรูปแบบของการสั่นแบบนี้ก็จะเกิดขึ้นเนื่องมาจากแรงเสียดทานที่เกิดขึ้นจากการหมุนโดยรอบหรือเคลื่อนที่ผ่านไปมาของชิ้นส่วนต่างๆ ของเครื่องจักรนั่นเอง เช่น การหมุนโดยรอบ หรือ การเคลื่อนที่ผ่านไปมาของลูกปืนหรือตลับลูกปืน หรือ การเคลื่อนไถลของชิ้นส่วนที่ทำหน้าที่ในการรองรับการหมุนของเครื่องจักร เป็นต้น ซึ่งรูปแบบของการสั่นแบบนี้ก็มักจะเกิดจากการที่คนใช้งานเครื่องจักรนั้นขาดการดูแลรักษาเครื่องจักรอย่างเหมาะสมและดีเพียงพอเป็นหลักนะครับ
ซึ่งไม่ว่าการสั่นของเครื่องจักรนั้นจะเกิดจากเหตุผลกลใดจากทั้ง 3 วิธีการหลักๆ ข้างต้นก็ตามเราจะมีวิธีหลักๆ ในการทำการตรวจวัดการสั่นของเครื่องจักรได้จาก 2 วิธีการหลักๆ ดังต่อไปนี้

วิธีการที่ 1 ซึ่งเรามีชื่อเรียกการทดสอบว่า PROXIMITY MONITORING TEST ซึ่งวิธีในการทดสอบอาจจะเริ่มต้นทำได้โดยการติดตั้งอุปกรณ์การตรวจวัดเข้าไปในระบบภายในตำแหน่งที่คาดว่าการสั่นนั้นจะเกิดแบบมีความรุนแรงสูงที่สุดก่อน จากนั้นก็ทำการติดตั้งตัวอุปกรณ์ตรวจวัดในแต่ละแบริ่งเพื่อที่จะได้สามารถวัดระยะห่างระหว่างแกนหมุนกับแบริ่งออกมาให้ได้ หลังจากนั้นก็เริ่มต้นการตรวจวัด โดยที่จะต้องทำการตรวจสอบค่าการสั่นโดยรวมตลอดเวลาว่ามีอยู่ในระดับที่เรายอมรับได้หรือไม่ รวมถึงจะต้องทำการตรวจวัดอื่นๆ ด้วย เช่น เฟสของเครื่องจักรมีค่าเท่ากับเท่าใด มวลที่กระจายตัวอยู่ซึ่งอาจจะทำให้เครื่องจักรนั้นมีการทำงานแบบไม่สมดุลนั้นอยู่ในตำแหน่งใด เป็นต้น จะเห็นได้ว่าการทดสอบโดยวิธีการๆ นี้จะค่อนข้างมีความสลับซับซ้อนมากพอสมควร จะต้องมีการติดตั้งอุปกรณ์ตรวจวัดเข้าไปในหลายๆ ตำแหน่งของเครื่องจักร นั่นจึงทำให้วิธีการนี้มีความเหมาะสมที่จะนำไปใช้กับเครื่องจักรที่ค่อนข้างจะมีความสำคัญมากๆ หรือจะมีขนาดของเครื่องจักรเองที่ค่อนข้างจะใหญ่ในระดับหนึ่งนะครับ

วิธีการที่ 2 ซึ่งเรามีชื่อเรียกการทดสอบว่า SEISMIC MONITORING TEST ซึ่งวิธีในการทดสอบนี้จะทำได้ง่ายดายกว่าการทดสอบแบบแรกค่อนข้างมากเลย ดังนั้นในทางปฏิบัติแล้ววิธีการนี้จึงเป็นวิธีการที่นิยมนำมาใช้งานมากที่สุดเพราะว่าการทดสอบด้วยวิธีการๆ นี้จะมีความเหมาะสมต่อการนำไปใช้ในการทดสอบตัวเครื่องจักรที่จัดได้ว่าอยู่ในกรณีของเครื่องจักรที่มีการใช้งานอยู่ในเกณฑ์ทั่วๆ ไปหรือว่าตัวเครื่องจักรเองนั้นอาจจะไม่ได้มีขนาดใหญ่โตอะไรมากมายนัก ส่วนการทดสอบนั้นก็จะค่อนข้างมีความง่ายดายมากโดยอาจจะเริ่มต้นจากการติดตั้งอุปกรณ์ตรวจวัดที่ผิวด้านนอกของแบริ่งหลังจากนั้นก็ทำการตรวจวัดค่า MAXIMUM ABSOLUTE VIBRATION ที่เกิดขึ้นในตัวเครื่องจักรนั่นเองครับ
เอาเป็นว่าวันนี้ผมขอสรุปเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกันกับรูปแบบของการสั่นสะเทือนและวิธีในการทำการตรวจวัดการสั่นสะเทือนของเครื่องจักรเอาไว้เพียงเท่านี้ ไม่อย่างนั้นเนื้อหาในวันนี้มันคงจะยืดเยื้อและน่าเบื่อจนเกินไปและในสัปดาห์หน้าผมก็จะขออนุญาตนำเอาเรื่องราวรายละเอียดต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องรูปแบบและวิธีแก้ไขการสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นเนื่องจากเครื่องจักรมาพูดถึงและอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ให้มีความรู้และความเข้าใจที่มากยิ่งขึ้นเป็นหัวข้อสุดท้ายของปีนี้ หากเพื่อนๆ ท่านใดที่มีความสนใจเนื้อเรื่องเกี่ยวกับหัวข้อๆ นี้เป็นพิเศษ ก็สามารถที่จะติดตามอ่านบทความเกี่ยวกับเรื่องๆ นี้ของผมได้ในการพบกันในครั้งต่อไปของเราได้นะครับ

หวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านในวันนี้จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ
#โพสต์ของวันศุกร์
#ความรู้เรื่องวิศวกรรมการคำนวณ
#การวิเคราะห์โครงสร้างเชิงพลศาสตร์
#สรุปขั้นตอนที่มีความสำคัญของการออกแบบการสั่นอันเนื่องมาจากเครื่องจักร
#ครั้งที่1
ADMIN JAMES DEAN


บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปัน ไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service) Certified by SGS (Thailand) Ltd.

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 15-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดิน แต่ละพื้นที่ ทดสอบโดย Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)

☎ สายด่วนภูมิสยาม:
082-790-1447
082-790-1448
082-790-1449
091-947-8945
081-634-6586

🌎 Web:
bhumisiam.com
micro-pile.com
spun-micropile.com
microspunpile.com
bhumisiammicropile.com

1 9 10 11 12 13 14 15 16